ประโยคแบบ

  1. ประโยค กัตตุวาจก
    (อกัมมธาตุ)  สูโท สยติ.  พ่อครัว นอนอยู่.
    (สกัมมธาตุ) สูโท  โอทนํ  ปจติ.  พ่อครัว  หุงอยู่  ซึ่งข้าวสุก.
  2. ประโยค กัมมวาจก (สกัมมธาตุ)
    สูเทน  โอทโน  ปจิยเต.  ข้าวสุก  อันพ่อครัว  หุงอยู่.
  3. ประโยค ภาววาจก (อกัมมธาตุ) (มีกัตตา-ผู้ทำ ลงตติยาวิภัตติ  แต่ไม่มีประธาน)
    สูเทน สียเต.  อันพ่อครัว นอนอยู่.
  4. ประโยค เหตุกัตตุวาจก
    (สกัมมธาตุ) สามิโก สูทํ  โอทนํ ปาเจติ.  นาย  ยังพ่อครัว  ให้หุงอยู่  ซึ่งข้าวสุก.
    (อกัมมธาตุ) สามิโก สูทํ มาเรติ.  นาย ยังพ่อครัว ให้ตายอยู่.
  5. ประโยค เหตุกัมมวาจก
    (สกัมมธาตุ)  สามิเกน สูทํ โอทโน ปาจาปิยเต.  ข้าวสุก อันนาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่. 
    (สกัมมธาตุ)  สามิเกน สูโท โอทนํ ปาจาปิยเต.  พ่อครัว อันนาย ให้หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก. (มีใช้ไม่มาก) 
    (อกัมมธาตุ) สามิเกน สูโท มาราปิยเต.  พ่อครัว อันนาย ให้ตายอยู่.
  6. ประโยค ลิงคัตถะ (มีนามศัพท์ ลงปฐมาวิภัตติ  แต่ไม่มีกิริยาคุมพากย์  เป็นประโยคทางสัมพันธ์ ไม่นับเป็นประโยคในวาจกทั้ง 5)
    พุทฺธสฺส  สาวโก.  สาวก ของพระพุทธเจ้า.

ดู ผังวาจก (5 วาจก 9 ประโยค) ประกอบ

  1. ประโยค ถอน (นิทธารณะ)
    เทฺว  พฺราหฺมณสฺส  โคณา,  เตสุ  เอโก  มโต.
    โค ท. สอง  ของพราหมณ์  (มีอยู่),   ในโค ท. สอง เหล่านั้นหนา  โค  ตัวหนึ่ง  ตายแล้ว.
  2. ประโยค วิกติกัมมะ
    ปุคฺคโล  วิริเยน  อตฺตานํ  อตฺตโน  นาถํ  กโรติ.
    บุคคล  ย่อมกระทำ  ซึ่งตน  ให้เป็นที่พึ่ง ของตน  ด้วยความเพียร.
  3. ประโยค วิกติกัตตาที่เป็นคุณนาม
    ราชา  อตฺตโน  รฏฺเฐ  ชนานํ  อิสฺสโร  โหติ.
    พระราชา  เป็นใหญ่  แห่งชน ท.  ในแว่นแคว้น  ของพระองค์  ย่อมเป็น.
  4. ประโยค วิกติกัตตาที่เป็นกิริยาศัพท์
    ราชา  ชเนหิ  มานิโต  โหติ.
    พระราชา  เป็นผู้อันชน ท.  นับถือแล้ว  ย่อมเป็น.
  5. ประโยค ลักขณะ
    รญฺเญ  อาคเต,  สพฺเพ  ชนา  ปกฺกมนฺติ.
    ครั้นเมื่อพระราชา  เสด็จมาแล้ว  ชน ท. ทั้งปวง  ย่อมหลีกไป.
  6. ประโยค อนาทร
    เถรสฺส  นิทฺทํ  อโนกฺกมนฺตสฺส,  อกฺขิมฺหิ  โรโค  อุปฺปชฺชิ.
    เมื่อพระเถระ  ไม่ก้าวลงอยู่  สู่ความหลับ  โรคในนัยน์ตา  เกิดขึ้นแล้ว.
  7. ประโยค  ตุํ ปัจจัย เป็นประธาน 
    มยา  ปพฺพชิตุํ   วฏฺฏติ.    อัน อันเรา  บวช  ย่อมควร.
  8. ประโยค  กึ  เป็นประธาน
    กึ เม ฆราวาเสน.  
    ประโยชน์อะไร ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรือน (มีอยู่) แก่เรา.
    ประโยชน์อะไร ของเรา ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรือน.
  9. ประโยค  ยุ ปัจจัย  เป็นประธาน
    ปุญฺญตฺถิกานํ “อยํ เม อตฺโถติ สลฺลกฺเขตฺวา ปุญฺญกรณํ ภาโร โหติ.
    อัน กำหนดว่า  ประโยชน์นี้ของเรา  ดังนี้  แล้วกระทำซึ่งบุญ  เป็นภาระ ของบุคคล ท. ผู้มีความต้องการด้วยบุญ  ย่อมเป็น.
  10. ประโยค ตั้งชื่อ (วิกติกัมมะ)
    ญาตกา  ตสฺส  "สิทฺธตฺโถติ (วจนํ) นามํ  กรึสุ.
    พระญาติ ท. กระทำแล้ว ซึ่งคำว่า สิทธัตถะ ดังนี้ ให้เป็นชื่อ แห่งกุมารนั้น.
  11. ประโยค ความคิด
    อถสฺส  เอตทโหสิ.
    ความคิด นั่น (เอตํ จินฺตนํ) ว่า... ดังนี้  ได้มีแล้ว  แก่บุรุษนั้น.
  12. ประโยค สกฺกา ที่เป็นภาววาจก
    สกฺกา   เคหํ  อชฺฌาวสนฺเตน  ตยา  ปุญฺญานิ  กาตุํ.
    อันท่าน  ผู้อยู่ครองซึ่งเรือน  อาจเพื่ออันกระทำซึ่งบุญ ท..
  13. ประโยค สกฺกา ที่เป็นกัมมวาจก 
    น สกฺกา  โส  ธมฺโม  เกนจิ  อคารมชฺเฌ  ปูเรตุํ.
    ธรรมนั้น  อันใครๆ ไม่อาจ  เพื่ออันให้เต็ม  ในท่ามกลางแห่งเรือนได้.
  14. ประโยค สนทนา
    "กาย  นุตฺถ  ภิกฺขเว  เอตรหิ  กถาย  สนฺนิสินฺนา -อิติ.
    (พระศาสดา ตรัสแล้ว ว่า) ดูก่อนภิกษุ ท.  เธอ ท. เป็นผู้นั่งประชุมกันแล้ว ด้วยถ้อยคำ* อะไร หนอ  ย่อมเป็น** ในกาลนี้  ดังนี้. 
    "(มยํ  เอตรหิ)  อิมาย นาม (กถาย  สนฺนิสินฺนา อมฺห) -อิติ.
    (ครั้นเมื่อคำ) ว่า ข้าพระองค์ ท.  เป็นผู้นั่งประชุมกันแล้ว ด้วยถ้อยคำ* ชื่อนี้  ย่อมเป็น** ในกาลนี้  ดังนี้ (อันภิกษุ ท.) กราบทูลแล้ว.
    (*แปลออกสาธนะว่า ด้วยวาจาเป็นเครื่องกล่าว ก็ได้   **อตฺถ อส-อ-ถ,  อมฺห อส-อ-ม ย่อมมี, ย่อมเป็น)
ประโยค กัตตุวาจก (อกัมมธาตุ)  สูโท สยติ.
(สกัมมธาตุ) สูโท  โอทนํ  ปจติ.
พ่อครัว นอนอยู่.
พ่อครัว  หุงอยู่  ซึ่งข้าวสุก.
ประโยค กัมมวาจก (สกัมมธาตุ) สูเทน โอทโน ปจิยเต. ข้าวสุก อันพ่อครัว หุงอยู่.
ประโยค ภาววาจก (อกัมมธาตุ)
(มีกัตตา ผู้ทำ ลงตติยาวิภัตติ 
แต่ไม่มีประธาน
)
สูเทน สียเต. อันพ่อครัว นอนอยู่.
ประโยค เหตุกัตตุวาจก (สกัมมธาตุ) สามิโก สูทํ  โอทนํ ปาเจติ. 
(อกัมมธาตุ) สามิโก สูทํ มาเรติ. 
นาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก.
นาย ยังพ่อครัว ให้ตายอยู่.
ประโยค เหตุกัมมวาจก (สกัมมธาตุ)  สามิเกน สูทํ โอทโน ปาจาปิยเต.  
(สกัมมธาตุ)  สามิเกน สูโท โอทนํ ปาจาปิยเต. 
(อกัมมธาตุ) สามิเกน สูโท มาราปิยเต. 
ข้าวสุก อันนาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่.
พ่อครัว อันนาย ให้หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก. (มีใช้ไม่มาก)
พ่อครัว อันนาย ให้ตายอยู่.
ประโยค ลิงคัตถะ
(มีนามศัพท์ ลงปฐมาวิภัตติ 
แต่ไม่มีกิริยาคุมพากย์
เป็นประโยคทางสัมพันธ์ ไม่นับเป็นประโยคในวาจกทั้ง 5)
พุทฺธสฺส  สาวโก.  สาวก ของพระพุทธเจ้า.

ดู ผังวาจก (5 วาจก 9 ประโยค) ประกอบ

ประโยค ถอน (นิทธารณะ) เทฺว พฺราหฺมณสฺส โคณา, เตสุ เอโก มโต. โค ท. สอง ของพราหมณ์ (มีอยู่), ในโค ท. สอง เหล่านั้นหนา โค ตัวหนึ่ง ตายแล้ว.
ประโยค วิกติกัมมะ ปุคฺคโล วิริเยน อตฺตานํ อตฺตโน นาถํ กโรติ. บุคคล ย่อมกระทำ ซึ่งตน ให้เป็นที่พึ่ง ของตน ด้วยความเพียร.
ประโยค วิกติกัตตาที่เป็นคุณนาม ราชา อตฺตโน รฏฺเฐ ชนานํ อิสฺสโร โหติ. พระราชา เป็นใหญ่ แห่งชน ท.ในแว่นแคว้น ของพระองค์ ย่อมเป็น.
ประโยค วิกติกัตตาที่เป็นกิริยาศัพท์ ราชา ชเนหิ มานิโต โหติ. พระราชา เป็นผู้อันชน ท. นับถือแล้ว ย่อมเป็น.
ประโยค ลักขณะ รญฺเญ อาคเต, สพฺเพ ชนา ปกฺกมนฺติ. ครั้นเมื่อพระราชา เสด็จมาแล้ว ชน ท. ทั้งปวง ย่อมหลีกไป.
ประโยค อนาทร เถรสฺส นิทฺทํ อโนกฺกมนฺตสฺส, อกฺขิมฺหิ โรโค อุปฺปชฺชิ. เมื่อพระเถระ ไม่ก้าวลงอยู่ สู่ความหลับ โรคในนัยน์ตา เกิดขึ้นแล้ว.
ประโยค ตุํ ปัจจัย เป็นประธาน มยา ปพฺพชิตุํ วฏฺฏติ. อัน อันเรา บวช ย่อมควร.
ประโยค กึ เป็นประธาน กึ เม ฆราวาเสน. ประโยชน์อะไร ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรือน (มีอยู่) แก่เรา.
ประโยชน์อะไร ของเรา ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรือน.
ประโยค ยุ ปัจจัย เป็นประธาน ปุญฺญตฺถิกานํ “อยํ เม อตฺโถติ สลฺลกฺเขตฺวา ปุญฺญกรณํ ภาโร โหติ. อัน กำหนดว่า ประโยชน์นี้ของเรา ดังนี้ แล้วกระทำซึ่งบุญ เป็นภาระ ของบุคคล ท. ผู้มีความต้องการด้วยบุญ ย่อมเป็น.
ประโยค ตั้งชื่อ (วิกติกัมมะ) ญาตกา ตสฺส "สิทฺธตฺโถติ (วจนํ) นามํ กรึสุ. พระญาติ ท. กระทำแล้ว ซึ่งคำว่า สิทธัตถะ ดังนี้ ให้เป็นชื่อ แห่งกุมารนั้น.
ประโยค ความคิด อถสฺส เอตทโหสิ. ความคิด นั่น (เอตํ จินฺตนํ) ว่า… ดังนี้ ได้มีแล้ว แก่บุรุษนั้น.
ประโยค สกฺกา ที่เป็นภาววาจก สกฺกา เคหํ อชฺฌาวสนฺเตน ตยา ปุญฺญานิ กาตุํ. อันท่าน ผู้อยู่ครองซึ่งเรือน อาจเพื่ออันกระทำซึ่งบุญ ท.
ประโยค สกฺกา ที่เป็นกัมมวาจก น สกฺกา โส ธมฺโม เกนจิ อคารมชฺเฌ ปูเรตุํ. ธรรมนั้น อันใครๆ ไม่อาจ เพื่ออันให้เต็ม ในท่ามกลางแห่งเรือนได้.
ประโยค สนทนา "กาย นุตฺถ ภิกฺขเว เอตรหิ กถาย สนฺนิสินฺนา -อิติ.
"(มยํ  เอตรหิ)  อิมาย นาม (กถาย  สนฺนิสินฺนา อมฺห) -อิติ
(พระศาสดา ตรัสแล้ว ว่า) ดูก่อนภิกษุ ท. เธอ ท. เป็นผู้นั่งประชุมกันแล้ว ด้วยถ้อยคำ* อะไร หนอ ย่อมเป็น** ในกาลนี้ ดังนี้.
(ครั้นเมื่อคำ) ว่า ข้าพระองค์ ท.  เป็นผู้นั่งประชุมกันแล้ว ด้วยถ้อยคำ* ชื่อนี้  ย่อมเป็น** ในกาลนี้  ดังนี้ (อันภิกษุ ท.) กราบทูลแล้ว.
(*แปลออกสาธนะว่า ด้วยวาจาเป็นเครื่องกล่าว ก็ได้  
**อตฺถ อส-อ-ถ,  อมฺห อส-อ-ม  ย่อมมี, ย่อมเป็น)

ความคิดเห็น

Restricted HTML

  • Allowed HTML tags: <a href hreflang> <em> <strong> <cite> <blockquote cite> <code> <ul type> <ol start type> <li> <dl> <dt> <dd> <h2 id> <h3 id> <h4 id> <h5 id> <h6 id>
  • Lines and paragraphs break automatically.
  • Web page addresses and email addresses turn into links automatically.