ฐานกิริยา จัดหมวดหมู่ตามความหมาย

ธาตุลงปัจจัย เป็นฐาน (base) สำหรับลงวิภัตติประกอบเป็นกิริยา

ดู  ฐานกิริยา เรียงตามลำดับธาตุ

สารบัญ

* เมื่อคลิกลิงค์แล้ว  กดปุ่ม [Home] บนคีย์บอร์ด เพื่อกลับมายังตำแหน่งต้นเอกสารได้

คำแนะนำการใช้
  • ฐานกิริยา ในที่นี้หมายถึง ธาตุที่ลงปัจจัยแล้ว (รวมทั้ง อาคม อุปสัค …)  กลายเป็น ‘ฐาน’ (base)  พร้อมที่จะนำไปลงวิภัตติอาขยาต 
    เพื่อทำเป็นกิริยาอาขยาตได้โดยสะดวก  และฐานกิริยานี้ยังช่วยให้สังเกตและประกอบกิริยาได้ง่ายขึ้นด้วย
ธาตุปัจจัยฐานคำแปล
ป-ญานาปญฺญาย  (นา>ย)รู้, ปรากฏ [วัต. ปญฺญยติ ปญฺญายติ อัช. ปญฺญายิ ต. ปญฺญาโต]  ปญฺญา  ยุ ปชานนํ

จากตารางด้านบน  ญา ธาตุ  มี ป อุปสัคเป็นบทหน้า  ลง นา ปัจจัย (และแปลง นา เป็น ย) ประกอบเป็น ‘ฐาน’ คือ ปญฺญาย 
นำฐาน คือ ปญฺญาย ไปลง ติ วิภัตติ เป็นต้น ได้รูปเป็น ปญฺญายติ ปญฺญายนฺติ ปญฺญายิ ปญฺญายิสฺสติ

  • หลังคำแปล ยังได้เพิ่มตัวอย่างกิริยาอาขยาต-กิริยากิตก์ ที่มีการแปลงรูปต่างจากฐานปกติ รวมทั้งตัวอย่างศัพท์นามกิตก์ด้วย
  • หลังเครื่องหมาย # คือกิริยาที่ใช้ธาตุเดียวกัน แต่เปลี่ยนรูปเล็กน้อย มีความหมายเหมือนๆ กัน หรือใกล้เคียงกันบ้าง
  • รูปสำเร็จกิริยากิตก์ เป็นได้ 3 ลิงค์  เช่น ชาโต ชาตา ชาตํ  จะแสดงตัวอย่างเฉพาะปุงลิงค์ คือ ชาโต
  • ฐานกิริยาที่ลงท้ายด้วย อา  เมื่อลงวิภัตติอาขยาต หรือปัจจัยกิตก์ ที่ขึ้นต้นด้วยสระ ให้ลบ อา ด้วย
  • ธาตุ(หลายสระ)ที่ลงท้ายด้วย อิ (อิการันต์) ที่อยู่ในหมวด ภู ธาตุ (อ) หรือ จุร ธาตุ (เณ ณย)  ต้องลงนิคคหิตที่ต้นธาตุ 
    (ถ้านิคคหิตอยู่หน้าพยัญชนะวรรค ให้แปลงเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค)  ได้แก่ กขิ กทิ ขทิ ขภิ ตทิ ถภิ นิทิ ปิลธิ พุธิ มฑิ ลฆิ ลพิ ลุถิ วลชิ สกิ หิสิ อกิ อฉิ อาสิสิ ธาตุ  โดยแสดงรูปที่ลงนิคคหิตเป็นหลัก เช่น กงฺข (กขิ), ขนฺท (ขทิ), หึส (หิสิ), อาสึส (อาสิสิ) 
    (ในคัมภีร์มักเขียนด้วยรูปอิการันต์ ฉะนั้น หากค้นหา กงฺข ธาตุ ไม่พบ ก็ต้องค้นหาด้วยคำว่า กขิ เป็นต้น)
  • อักษรย่อบางตัว
    ธาตุ: อกมฺม. =อกัมมธาตุ,   สกมฺม. =สกัมมธาตุ 
    วาจก: กัต. =กัตตุวาจก,   กัม. =กัมมวาจก;   เหตุ. เหตุกัต. =เหตุกัตตุวาจก;   เหตุกัม. =เหตุกัมมวาจก 
    วิภัตติอาขยาต: วัต. =วัตตมานา,   ปัญ. =ปัญจมี,   สัต. =สัตตมี,   ปโรก. =ปโรกขา,   หิย. =หิยยัตตนี,  อัช. =อัชชัตตนี,   ภวิส. =ภวิสสันติ,   กาล. =กาลาติปัตติ. 
    ปัจจัยกิริยากิตก์: อันต. อนีย. ตัพ. (ตพฺพ ปัจจัย) มาน. อาน. ต. (ต ปัจจัย) ตู. (ตูนาทิปัจจัย) (ตเว. ตุํ). 
    ปัจจัยนามกิตก์: กฺวิ ณี ณฺวุ ตุ รู ข ณฺย อ อิ ณ ติ ยุ ตุํ 
    ตัท. =ปัจจัยตัทธิต

(ปรับปรุง 5 ก.ย.65)

ยืน ตั้ง

 
 ธาตุปัจจัยฐานคำแปล - รูปสำเร็จอื่นๆ ฯลฯ 
ฐาฐา ติฏฺฐาตั้ง, ยืน, หยุด, ดำรง อกมฺม.  
[วัต. ฐาติ ติฏฺฐติ อัช. อฏฺฐาสิ อฏฺฐํสุ (อ-ฐา) ภวิส. ฐสฺสติ ต. ฐิโต #อฏฺฐิโต (น-) ตู. ฐตฺวา ตุํ. ฐาตุํ] 
ณี กปฺปฏฺฐายี  ณฺวุ ภุมฺมฏฺฐโก  อ มคฺคผลฏฺโฐ ธมฺมฏฺโฐ ภุมฺมฏฺโฐ ปพฺพตฏฺโฐ กปฺปฏฺโฐ  ติ ฐิติ  ยุ ฐานํ
 
อุ-ฐา-หฺอุฏฺฐา-ฐหลุกขึ้น, ตั้งขึ้น. ฐา ธาตุ ลง หฺ อาคมได้เมื่อมีอุปสัคอยู่หน้าเท่านั้น  [ปัญ. อุฏฺเฐหิ ต. อุฏฺฐิโต ตู. อุฏฺฐาย  #ปฏฺฐาย ป-ฐา ใช้เป็นกิริยาวิเสสนะ แปลว่า ตั้งก่อน, จำเดิมณี อุฏฺฐายี  ตุ อุฏฺฐาตา  ยุ อุฏฺฐานํ 
อุ-วฺ-ฐา-หฺวุฏฺฐา-ฐหลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, ออก [ตู. วุฏฺฐาย]  ยุ วุฏฺฐานํ 
สํ-อุ-ฐา-หฺสมุฏฺฐา-ฐหลุกขึ้นพร้อม, ตั้งขึ้นพร้อม [ต. สมุฏฺฐิโต ตู. สมุฏฺฐาย] 
ปฏิ-อุ-ฐา-หฺปจฺจุฏฺฐา-ฐหลุกขึ้นเฉพาะ, ต้อนรับ [ตู. ปจฺจุฏฺฐาย] 
อุป-ฐา-หฺอุปฏฺฐา-ฐหตั้งขึ้น, ปรากฏ, ยืนใกล้, บำรุง, อุปัฏฐาก  [วัต. อุปฏฺฐาเปติ เหตุ.  ต. อุปฏฺฐิโต ตู. อุปติฏฺฐิตฺวา] ณฺวุ อุปฏฺฐาโก คิลานุปฏฺฐาโก สงฺฆุปฏฺฐาโก  ยุ อุปฏฺฐานํ 
ปติ-ฐา-หฺปติฏฺฐา-ฐหตั้ง, ตั้งมั่น [ตู. ปติฏฺฐาย]  ณฺวุ ปติฏฺฐาปโก  ปติฏฺฐา 
สํ-ฐา-หฺสณฺฐา-ฐหตั้ง, ตั้งด้วยดี, ยืนนิ่งอยู่, ยืนดี (ไม่ล้ม) [ตุํ. สณฺฐาตุํ]  ยุ  สณฺฐานํ การดำรงอยู่ ทรวดทรง 
 อธิ-ฐา-หฺอธิฏฺฐา-ฐหตั้ง, ตั้งมั่น, อธิษฐาน [วัต. อธิฏฺฐาติ อธิฏฺเฐติ (แปลง อ เป็น เอ) ตู. อธิฏฺฐาย]  ยุ อธิฏฺฐานํ 
 ฐป ถปเณ ณยฐเป ถเปตั้ง, วาง, เก็บ สกมฺม. [วัต. ฐปาเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ)] 
 อุป-ฐปเณ ณยอุปฏฺฐเปเข้าไปตั้ง, บำรุง, อุปัฏฐาก สกมฺม. [วัต. อุปฏฺฐเปติ  ตู. อุปฏฺฐเปตฺวา] 
 ป-ฐปเณ ณยปฏฺฐเปเริ่มตั้ง, ตั้งก่อน 
 อา-ธาอ เออาเท อาทหยกขึ้น, ตั้งขึ้น [ต. อาหิโต] 
 สํ-อา-ธาอ เอสมาเท สมาทหยกขึ้น, ตั้งขึ้น, ตั้งมั่น, มั่นคง [ต. สมาหิโต #สุสมาหิโต]  อิ สมาธิ 
 ป-นิ-ธาปณิทหตั้งมั่น, มั่นคง [ต. ปณิหิโต ตู. ปณิธาย #อุปนิธาย] 
 นิ-ธาอ เอนิเธ นิทหมอบให้, ฝากไว้, ฝัง, ตั้ง [ต. นิหิโต]  อิ นิธิ  ยุ ธาตุนิธานํ อิ #สนฺนิธิ 

เดิน ไป/มา ถึง

 
 กมกมก้าวไป, เดินไป 
 กมจงฺกม (เทฺวภาวะ)จงกรม, ก้าวไป, เดินไป (กม>กมฺ>กกมฺ>กํกมฺ>จํกมฺ>จงฺกมฺ)  จงฺกโม ยุ จงฺกมนํ 
 ปฏิ-กมปฏิกฺกมก้าวกลับ, กลับ [ต. ปฏิกฺกนฺโต] 
 อุป-สํ-กมอุปสํกม อุปสงฺกมเข้าไปหา-พบ-ใกล้ [ตู. อุปสงฺกมฺม] 
 นิ-วตฺตุนิวตฺตกลับ [ปญฺ. นิวตฺตาหิ; นิวตฺเตหิ เหตุ. ต. นิวตฺโต] 
 อิเอไป, ถึง, เป็นไป, บรรลุ, รู้ [ต. อิโต]  ณฺวุ สหายโก (สห-อิ-)  สมฺปราโย (สํ-ปรํ-)  สหาโย 
 อา-อิเอมา [ปัญ. เอหิ เอถ]  ติ อีติ 
 ป-อิ ละไป, ตาย [ตู. เปจฺจ (ตฺวา>(ร)จฺจ)] 
 วิ-อิ ไปปราศ, ปราศจาก [ต. วิโต วีโต] 
 อติ-อิอจฺเจ-จยเป็นไปล่วง, ล่วงไป, ก้าวล่วง [ต. อตีโต ตู. อติจฺจ]  อจฺจโย 
 อป-อิอเปหลีกไป, พ้นไป, ไปปราศ [ปัญ. อเปหิ ต. อเปโต] 
 อุป-อิอุเปเข้าถึง [ต. อุเปโต] 
 อภิ-สํ-อิอภิสเมถึงพร้อมยิ่ง, บรรลุ, ได้รับ [ตู. อภิสเมจฺจ]  อภิสมโย 
 สํ-อิสเมถึงพร้อม, พิจารณา; สม, เข้ากัน [ตู. สเมจฺจ] 
 ปร-อิปเรไปในเบื้องหน้า, ไปข้างหน้า [ต. ปเรโต]   ยุ ปรายโน 
 ปฏิ-อิ อาศัย [ตู. ปฏิจฺจ (ตฺวา>(ร)จฺจ)] 
 อว-อิ ลงไป, หยั่งลง [ตู. อเวจฺจ (ตฺวา>(ร)จฺจ)] 
 อนุ-อิอเนฺว อนฺเวอาศัย, เป็นไปตาม [วัต. อเนฺวติ อนฺเวติ ตู. อนฺวาย] 
 อนุ-พนฺธอนุพนฺธตาม, ติดตาม 
 ยปเณ ณยยาเป-ปยเป็นไป, เป็นอยู่ [วัต. ยปยติ อันต. ยาเปนฺโต]  ยุ ยปนา 
 ยาอ ยยา ยายไป, เป็นไป; ถึง, บรรลุ [วัต. ยาเปติ เหตุ.  อ วโย  ยุ ยานํ 
 วยวยไป, ถึง, บรรลุ 
 เอธเอธหยั่งลง, ถึง, เจริญ, ได้, ประสบ 
 คมคม คจฺฉไป (สู่), เดิน (=ไปด้วยเท้า) อกมฺม.;  ถึง (ซึ่ง) สกมฺม. 
[วัต. คมติ คเมติ คจฺฉเร; คมิยติ คมียติ คมิยฺยติ คมฺมติ คมฺมเต คจฺฉิยติ คจฺฉิยเต กัม. 
หิย. คม อคา คมา อคมา อคจฺฉา อัช. อคญฺฉิ (เฉพาะ อัช.) อคมาสิ อคมํสุ อคมาสุ อคมฺหา อคมุมฺหา คมิมฺห คมิมฺหา กาล. คจฺฉิสฺส อคจฺฉิสฺสา; อันต. คจฺฉํ ตัพ. คนฺตพฺโพ ต. คโต ตู. คนฺตฺวา ตเว. คนฺตเว ตุํ. คนฺตุํ] 
กฺวิ อุรโค ภุชโค ตุรโค วิหโค นโค  ณี ปารคามี ทุกฺขนิโรธคามินี  ตุ คมิตา คนฺตา  รู ปารคู อนฺตคู อทฺธคู  ณฺย คมฺโม  สงฺคโม  คาโม มาตุคาโม  ติ คติ ทุคฺคติ สุคติ  ยุ คมนํ อุคฺคมนํ ปจฺจุคฺคมนํ สุริยตฺถงฺคคมโน สุริยุคฺคมโน อรุณุคฺคมนํ  อิก คมิโก
 
 อา-คมอาคจฺฉมา, กลับมา 
[ปัญ. (กาลํ) อาคเมหิ เหตุ. (ไม่วุทธิ) หิย. อจฺจคมา อ-อา-คม (อา>อี>ยฺ>ช>จ ซ้อน จฺ) 
ตู. อาคมฺม และเป็นกิริยาวิเสสนะ แปลว่า เพราะอาศัยยุ อาคมนํ 
 
 อติ-คม (เป็น)ไปล่วง [หิย. อจฺจคา ติ>ตฺย>จฺจ #อุปจฺจคา] 
 อธิ-คมอธิคจฺฉบรรลุ, ตรัสรู้, ถึงทับ, ได้, ประสบ, เรียน [วัต. อธิคเต (ลบ ม) หิย. อชฺฌคา (ลบ ม) อัช. อชฺฌคา (อึ ลบ ม) ต. อธิคโต]  
 วิ-คมวิคจฺฉไปปราศ, ปราศจาก [ต. วิคโต] 
 ปฏิ-อา-คมปจฺจาคจฺฉกลับมา [อัช. ปจฺจาคมิ] 
 อป-คมอปคจฺฉหลีกไป [อัช. อปคญฺฉิ] 
 อุป-คมอุปคจฺฉเข้าไปใกล้, เข้าถึง [ตู. อุปคมฺม] 
 สํ-อา-คมสมาคจฺฉมาพร้อมกัน, มารวมกัน, ประชุม [ตู. สมาคนฺตวา]  สมาคโม 
 สํ-นิ-ปตสนฺนิปตประชุม 
 สํ-นิ-สทสนฺนิสีทประชุม [ต. สนฺนิสินฺโน] 
 อุป-นิ-สทอุปนิสีทนั่งใกล้ 
 ชฏชฏรวม, ประชุม 
 ปทปชฺชไป, ถึง, บรรลุ, ต้อง  [ต. ปตฺโต ตู. ปตฺวา ตุํ. ปตฺตุํ]  อ ปโท  ณ ปาโท ติ ปตฺติ  ยุ ปชฺชนํ 
 ปฏิ-ปทปฏิปชฺชไป, เดินไป, ดำเนินไป, ปฏิบัติ, ปรนนิบัติ  [ต. ปฏิปนฺโน ตู. ปฏิปชฺช]  อ ปฏิปทา ติ ปฏิปตฺติ ยุ ปฏิปชฺชนํ 
 อา-ปทอาปชฺชถึง, ต้อง (อาบัติ, โทษ) [ต. อาปนฺโน]  ติ อาปตฺติ #สมาปตฺติ ยุ อาปชฺชนํ 
 ป-อปอุณาปาปุณาถึง, บรรลุ, ได้รับ [วัต. ปาเปติ เหตุ. อัช. ปาปุณิ #สมฺปาปุณิ; #สมฺปาเปสิ เหตุ. ภวิ. ปาเปสฺสติ เหตุ. ต.ปตฺโต; ปาปิโต เหตุกัม. ตู. ปตฺวา ตุํ. ปตฺตุํ] 
 จรจรเที่ยวไป [วัต. #วิจรติ อัช. อจริ อจาริ]  ณฺวุ วนจรโก วเนจรโก ปริจารโก-ริกา  โคจโร เอกจโร อนฺตลิกฺขจโร  ณ ภิกฺขาจาโร  ยุ จรณํ 
 ธาวธาววิ่ง [วัต. #อุปธาวติ สนฺธาวติ อภิธาวติ] 
 ชุชวไปเร็ว, วิ่งไป  ณ สีฆชโว 
 ป-ขนฺท (ขทิ)ปกฺขนฺทวิ่งไป, แล่นไป, ไหลไป [ต. ปกฺขนฺโต] 
 สรสรแล่นไป [วัต. #สํสรติ] สํสาโร 
 อว-สรอวสรเที่ยวไป; มาถึง; พัก, อาศัย; ประชุมลง, รวมลง [อัช. อวสริ สนธิกับ ตํ เป็น ตทวสริ เสมอ] 
 ปลายปลายหนีไป [ต. ปลาโต; ปลาปิโต เหตุกัม.  ตู. ปลาเปตฺวา เหตุ. ให้หนี =ไล่ (ไม่วุทธิ)] 
 ป-อิปายหนีไป, หลีกไป [อัช. ปายิ ปายาสิ] 

เข้า ออก

 
 ป-วิสปวิสเข้าไป [วัต. ปเวเสติ เหตุ. อัช. ปาวิสิ ป-อา-อ-วิส ได้เข้าไปแล้ว ต. ปวิฏฺโฐ ตู. ปวิสฺส; ปเวเสตฺวา เหตุ.] 
 นิ-วิสนิพฺพิสพบ [อันต. นิพฺพิสนฺโต นิพฺพิสํ] 
 นิ-วิสนิวิสตั้งลง, มุ่งหมาย?; เข้าไปอยู่ [สัต. นิเวสเย ณย ปัจ. เหตุ.  ต. นิวิฏฺโฐ]  ยุ นิเวสนํ 
 นิ-กมนิกฺขมออกไป [อันต. นิกฺขมนฺโต ต. นิกฺขนฺโต ตู. นิกฺขมฺม]  เนกฺขมฺมํ  ยุ นิกฺขมนํ 
 ป-กมปกฺกมหลีกไป, เดินออก; ก้าวไปข้างหน้า, ตะเกียกตะกาย [อัช. ปกฺกมิ ปกฺกามิ (ทีฆะต้นธาตุ) อันต. ปกฺกมนฺโต ต. ปกฺกนฺโต]  ยุ ปกฺกมนํ 
 ปรํ-กมปรกฺกมก้าวไปข้างหน้า, บากบั่น, มุ่งมั่น, พากเพียร, ก้าวหน้า; ดิ้นรน, ตะเกียกตะกาย [ตู. ปรกฺกมฺม]  ปรกฺกโม  ยุ ปรกฺกมนํ 
 อภิ-กมอภิกฺกมก้าวไปข้างหน้่า, ล่วงไป; เพิ่มขึ้น  
 วิ-อุป-กม หลีกออก [ต. วูปกฏฺโฐ] 

นั่ง นอน

 
 นิ-สทนิสีทนั่ง [ต. นิสินฺโน ตู. นิสชฺช]  ณฺวุ นิสีทโก  ณฺย นิสชฺชา  ยุ นิสีทนํ 
 สํ-นิ-สทสนฺนิสีทนั่งสงบ ไม่คึกคะนอง [ต. สนฺนิสินฺโน] 
 อุป-นิ-สทอุปนิสีทนั่งใกล้ [ต. อุปนิสินฺโน] 
 อาสอาส อจฺฉนั่ง, พัก, อยู่; เข้าไป; หวัง [วัต. อจฺฉาเปติ อจฺฉาปยติ เหตุ. อาน. อาสีโน] ยุ อาสนํ 
 อุป-อาสอุปาสนั่งใกล้ ณฺวุ อุปาสโก 
 ปริ-ยฺ-อุป-อาสปยิรุปาสนั่งใกล้ 
 สีเส สยนอน [ตู. สยิตฺวา อาน. สยาโน]  ณี มญฺจสายี สมฺปริวตฺตสายี  อนุสโย  ยุ สยนํ เสนํ 
 นิ-สี อาศัย [ต. นิสฺสิโต อาศัยแล้ว (ซึ่ง) ตู. นิสฺสาย]  นิสฺสโย #อาสโย 
 อว-สีอวสฺสยอาศัย, เนื่องอยู่  อวสฺสโย 
 นิ-ปทนิปชฺชนอน, หมอบ [ต. นิปนฺโน ตู. นิปชฺช]  ณฺย นิปชฺชา 

หลับ ตื่น

 
 สุปสุปหลับ [ต. สุตฺโต]  ยุ สุปินํ สุปนํ โสตฺตํ  
 นิ-ทานิทฺทายหลับ  ตุ นิทฺทายิตา  ยุ นิทฺทายนํ 
 นิทฺทา ศัพท์อายนิทฺทายหลับ, ประพฤติหลับ (บาลีไวยากรณ์) 
 ป-พุธปพุชฺฌตื่น, รู้ [ต. ปพุทฺโธ #ปฏิพุทฺโธ]  ตุ ปโพเธตา เหตุ. 
 ชาครโอชาคโรตื่น  อ ชาคโร 
 ชคฺคชคฺคตื่น 
 วิชีอ ยวิช เวช วิชฺชสลด, สังเวช; กลัว; หวั่นไหว  #สํเวโค ธมฺมสํเวโค 

ดื่ม กิน

 
 ปาปา ปิวดื่ม; รักษา; บริโภค; ให้เต็ม; ถึง [วัต. ปาเยติ เหตุ. ต. ปีโต; ปายิโต เหตุกัม. ตู. ปิตฺวา; ปาเยตฺวา เหตุ. ตุํ. ปาตุํ ปิวิตุํ]  ณี มชฺชปายี ถนปายี  ณฺวุ ปายโก ขีรปโก  ณฺย เปยฺยํ  ปาทโป กจฺฉโป  โคโป  ติ ปีติ ปติ  ยุ ปานํ 
 ปาปิวาส (เทฺวภาวะ)ปรารถนาจะดื่ม, อยากดื่ม, กระหายน้ำ (ปา>ปาปา>ปิปา>ปิวา)  [ต. ปิปาสิโต]  ปิปาสา 
 ภุช ํอภุญฺช(คน) กิน, บริโภค [ภวิส. โภกฺขติ อนีย. โภชนีโย ต. ภุตฺโต ตู. ภุตฺวา]  ณี โภคี กามโภคี  ณฺวุ คามโภชโก  ณฺย โภคฺโค  โภโค ปาฏิโภโค  ติ ภุตฺติ  ยุ โภชนํ ภุญฺชนํ 
 ภุชพุภุกฺข (เทฺวภาวะ)ปรารถนาจะกิน, อยากกิน, หิว (ภุช>ภุชฺ>ภุภุชฺ>พุภุชฺ>พุภุกฺ (แปลงเพราะ ข ปัจ.)) 
 ฆสชิฆจฺฉ (เทฺวภาวะ)ปรารถนาจะกิน, อยากกิน, หิว (ฆส>ฆฆส>ฆิฆส>ฌิฆส>ชิฆส>ชิฆจฺ (แปลงเพราะ ฉ ปัจ.))  อ ชิฆจฺฉา 
 ฆสฆสกิน, บริโภค  ฆาสํ 
 ภกฺขเอภกฺเขกิน 
 อสอสกิน  ณ อาโส ปาตราโส สายมาโส  
 อทอทกิน; รักษา [ต. อนฺนํ - ของกิน ข้าว ฯลฯ]  วิฆาสาโท (วิฆาส-) 
 ปริ-ภุชํอปริภุญฺช(คน) บริโภค; กิน, ใช้สอย [ต. ปริภุตฺโต] 
 ปริ-หรปริหรบริโภค-ใช้สอย เป็นประจำ, บริหาร, รักษา, หลีกเลี่ยง  ปริหาโร 
 ฑํส ทํสฑํส ทํสกัด [ต. ฑฏฺโฐ ทฏฺโฐ] 
 ขาทขาท(คน, สัตว์) กิน, เคี้ยวกิน, กัดกิน [อนีย. ขาทนีโย]  ณฺย ขชฺชํ 
 เขขายกิน, เคี้ยวกิน, กัดกิน; เป็นอยู่, ปรากฏ 
 อธิ-โอ-หรอชฺโฌหรกลืน 
 คลคลกิน, กลืนกิน; หล่น; เคลื่อน 
 คิลคิลกิน, กลืนกิน 
 ลฬลฬแลบลิ้น, เลีย 
 นิ-ลฬเณ?นิลฺลาเฬเลีย, แลบ(ลิ้น) (ชิวฺหํ นิลฺลาเฬตฺวา) 
 ลิหลิห เลหเลีย; สบายใจ, เพลินใจ [วัต. #นิลฺเลหติ อัช. #ปลิหิ อนีย. เลหนียํ]  ณฺย เลยฺยํ เลหํ หตฺถ/ปตฺต/โอฏฺฐนิลฺเลหโก 

หิว อิ่ม

 
 ฉาฉา เฉหิว, หิวข้าว, หิวน้ำ [ต. ฉาโต] 
 ติสติสอิ่ม, เอิบอิ่ม, ยินดี [ต. ติตฺโต] 
 ติปติปฺปอิ่ม, เอิบอิ่ม [ต. ติตฺโต]  ติ ติตฺติ 
 ตปฺปอ เณ ณยตปฺป ตปฺเป-ปยอิ่ม, เอิบอิ่ม, พอใจ; แสดง 
 ตปอ ย เณ ณยตป ตปฺป ตปฺเป-ปยอิ่ม, เอิบอิ่ม; เร่าร้อน  [วัต. สนฺตปฺปติ] 

ทำ สร้าง

 
 กรโอกโรทำ [วัต. กุพฺพติ กุรุติ กุรุเต; กริยติ กรียติ กริยเต กรียเต กริยฺยติ กรียฺยติ กริยฺยเต กรียฺยเต กัม. 
ปัญ. กรสฺสุ, สัต. กเร กเรถ การเย กุพฺเพถ กุรุพฺเพถ หิย. อกา อกมฺห, 
อัช. กริ อกริ อกาสิ อกํสุ อกตฺถ อกาสึ 
ภวิส. กาหติ กาหิติ กาหามิ, กาล. อกริสฺส 
อนีย. กรณีโย ตัพ. กา-กตฺตพฺโพ อันต. กโรนฺโต กรํ  มาน. กุรุมาโน อาน. กราโน 
ต. กโต #อกโต (น-); การิโต เหตุกัม. ตู. กตฺวา ตเว. กาตเว ตุํ. กาตุํ กตฺตุํ] 
กฺวิ อนฺตโก ภติโก  
ณี พฺรหฺมจารี ปุญฺญการี ปมตฺตจารี มาลาการี สาตจฺจการี  
ณฺวุ การโก การิกา อนตฺถการโก ชาลการิกา วตฺตปฺปฏิวตฺตการโก การาปโก  
ตุ กตฺตา  ทุกฺกโร อีสกฺกโร  ณฺย การิโย  หิตกฺกโร เวยฺยาวจฺจกโร ทีปงฺกโร  
กาโร กมฺมกาโร กุมฺภกาโร มาลากาโร มณิกาโร สุวณฺณกาโร อุสุกาโร อุปกาโร สงฺขาโร อภิสงฺขาโร ปริกฺขาโร ปุเรกฺขาโร  
ติ วิกติ  ยุ กรณํ การณํ การาปนํ กรณี
 
 กรยิรกยิรทำ [วัต. กยิรติ สัต. กยิรา เอยฺย>อา กยิราถ เอถ>อา] 
 วิ-อา-กรโอพฺยากโรทำให้แจ้ง, พยากรณ์ [ต. พฺยากโต]  ยุ วฺยากรณํ 
 อาวิ-กรโออาวิกโรทำให้แจ้ง [ตู. อาวิกตฺวา #สจฺฉิกตฺวา] 
 มาปเณ ณยมาเป-ปยสร้าง, ก่อสร้าง, เนรมิต [วัต. #อติมาเปติ] (เป็น เหตุ.บ้าง) 

ประพฤติ

 
 จรจรประพฤติ [วัต. #อาจรติ ต. สุจิณฺโณ อาจิณฺโณ]  ณฺย จริยา ธมฺมจริยา อาจริโย 
 สํ-อุ-อา-ทฺ-จรสมุทาจรประพฤติด้วยดี, กล่าว, ร้องเรียก 
 อธิ-อา-จรอชฺฌาจรประพฤติผิด, ล่วงเกิน, ละเมิด 
 อติ-กมอ เออติกฺกม-กเมก้าวล่วง, ล่วงละเมิด, ล่วงเกิน; เดินผ่าน [ต. อติกฺกนฺโต ตู. อติกฺกมฺม]  อติกฺกโม #วีติกฺกโม 
 จิร ศัพท์อายจิรายประพฤติช้า, ชักช้า 
 ธูม ศัพท์อายธูมายประพฤติเพียงดังควัน, ทำตนดังควัน 
 ปพฺพต ศัพท์อายปพฺพตายประพฤติเพียงดังภูเขา, ทำตนดั่งภูเขา 
 สมุทฺท ศัพท์อายสมุทฺทายประพฤติเพียงดังสมุทร, ทำตนดั่งทะเล 
 จิจฺจิฏ ศัพท์อายจิจฺจิฏายประพฤติเสียงดังจิ๊ดๆ, ทำเสียงจิ๊ดๆ 
 ปุตฺต ศัพท์อิยปุตฺติยประพฤติเพียงดังบุตร, ทำตัวเหมือนลูก 

พูด บอก กล่าว

 
 อา-จิกฺขอาจิกฺขบอก, กล่าว, แสดง 
 กถเณ ณยกเถ-ถยบอก, กล่าว, แสดง, ชี้แจง, แต่ง [วัต. กถาเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ) อัช. กเถสิ กเถสุํ กถยิ กถยึสุ]  กถา อตฺถกถา อฏฺฐกถา  ยุ กถนํ 
 สห-กถเณ ณยสากจฺเฉ-ฉย (สห>สา; ถ>จฺฉ)เจรจากัน, สนทนากัน, สากัจฉา  สากจฺฉา 
 อห พฺรูพฺรูบอก, กล่าว [ปโร. อาห อาหุ อหุ อัช. อาหํสุ] 
 วจวจบอก, กล่าว, แสดง [วัต. วุจฺจติ วุจฺจเร (=วุจฺจนฺติ ใช้ในคาถา) #ปวุจฺจเร กัม. หิย. อวจ อโวจ อวจํ อัช. อโวจุํ อวจุตฺถ อโวจุตฺถ อโวจุมฺหา ภวิส. วกฺขติ มาน. วุจฺจมาโน กัม. ต. วุตฺโต]  ณี ผรุสวาจี  ณฺวุ วาจโก  ตุ วตฺตา  ทุพฺพโจ สุวโจ  ณฺย วากฺยํ อติวากฺยํ วชฺชํ  วโจ วจํ วจี วจี- เข้าสมาสแล้ว เอา อ เป็น อี วาจา  ยุ วจนํ  
 วจเณ ณยวาเจ-จยบอก, กล่าว, แสดง; อ่าน 
 วทอ เอวท วเท วชฺช วชฺเชบอก, กล่าว, แสดง [ตัพ. วตฺตพฺโพ ตู. วตฺวา ตุํ. วตฺตุํ]  ณี ธมฺมวาที นิคฺคยฺหวาที มุสาวาที วิวาโท อนูปวาโท 
 ปฐปฐบอก, กล่าว, แสดง; อ่าน 
 ภาสภาสบอก, กล่าว, แสดง [#อัช. อชฺฌภาสิ อธิ-ภาส]  ณี สุภาสิตภาสี 
 ภณภณบอก, กล่าว, แสดง  ณี ธมฺมภาณี ปิยภาณี พหุภาณี 
 ภสฺสเณ ณยภสฺเส-สยพูดคุย, บ่น, ด่า 
 ชป ชปฺปชป ชปฺปบอก, กล่าว, แสดง, กระซิบ 
 อา-รุจเณ ณยอาโรเจ-จยบอก, กล่าว [อัช. อาโรเจสิ อาโรเจสุํ อาโรจยิ อาโรจยึสุ] 
 อติ-อา-วทอจฺจาวทกล่าวล่วงเกิน, พูดล่อลวง, พูดเกี้ยว, พูดยั่วยวน, ร้องเรียก 
 ทีปเณ ณยทีเป-ปยประกาศ, แสดง  ยุ ทีปนา ทีปนํ การแสดง คำชี้แจง 
 ขาขายกล่าว, ประกาศ, แสดง, ชี้แจง  ยุ อพฺภกฺขานํ 
 อา-ขาอกฺขากล่าว, บอก, แสดง, ชี้แจง [วัต. อกฺขายติ กัม.ตุ อกฺขาตา 
 ปติ-ขาปจฺจกฺขาบอกคืน [ตู. ปจฺจกฺขาย] 
 ป-กาสุอ เอปกาส ปกาเสประกาศ, ปรากฏ, แจ่มแจ้ง, 
 โอ-วทโอวทโอวาท  โอวาโท 
 สาสสาสสอน, อบรม  ณฺย สิสฺโส  ติ อนุสิฏฺฐิ  ยุ สาสนํ 
 อนุ-สาสอนุสาสตามสอน, พร่ำสอน [ต. อนุสิฏฺโฐ]  ณฺวุ อนุสาสโก  ยุ อนุสาสนํ 
 วิ-อา-หรพฺยาหรพูด, เล่า 
 ลปลปพูด  ลาโป 
 วิ-ลปวิลปพูดคร่ำครวญ 
 อา-ลปอาลปร้องเรียก  ยุ อาลปนํ 
 ป-ลปปลปพูดเพ้อเจ้อ 
 สํ-ลปสลฺลปพูดเจรจาโต้ตอบกัน  สลฺลาโป 
 อป-ลปอปลปพูดผิด 
 อนุ-ลปอนุลปพูดมาก พูดเพ้อเจ้อ 
 อุ-ลปอุลฺลปพูดโอ้อวด 
 จุทเณ ณยโจเท-ทยโจทย์, ทักท้วง, ตักเตือน 
 มนฺตเณ ณยมนฺเต-ตยปรึกษา, พูดอย่างลับๆ [อัช. มนฺเตสิ มนฺเตสุํ มนฺตยิ มนฺตยึสุ] 
 สํ-อุ-อา-ทฺ-จรสมุทาจรประพฤติด้วยดี, กล่าว, ร้องเรียก 
 สรสรออกเสียง 
 ฆุสอ เณ ณยฆุส โฆส โฆเส-สยออกเสียง, ป่าวร้อง, สรรเสริญ [ต. ฆุฏฺโฐ #สงฺฆุฏฺโฐ]  โฆโส นิคฺโฆโส ปติโฆโส  ยุ โฆสนํ โฆสนา 
 นทอ เณ ณยนท นาเท-ทยบันลือเสียง 
 คชฺชอ เณ ณยคชฺช คชฺเช-ชยร้องคำราม, ออกเสียง 

เรียก เชิญ นิมนต์

 
 ป-กุสปกฺโกสเรียกมา [วัต. ปกฺโกสิตฺวา; ปกฺโกสาเปตฺวา เหตุ.] 
 นิ-มนฺตเณ ณยนิมนฺเต-ตยเรียกมา, นิมนต์ 
 อา-มนฺตเณ ณยอามนฺเต-ตยเรียกมา; เตือน 
 อธิ-อิสอชฺเฌสเชื้อเชิญ, อาราธนา 
 อา-ราธอ ยอาราธ อารชฺฌเชื้อเชิญ, อาราธนา; ยินดี 

ลา อำลา

 
 อา-ปุจฺฉอาปุจฺฉถามโดยเอื้อเฟื้อ, ถามหา, อำลา; ขออนุญาต [ตู. อาปุจฺฉา]  อ อาปุจฺฉา 
 อป-โลกเณ ณยอปโลเก-กยมองดู; บอกลา, อำลา; ขออนุญาต; ประกาศให้ทราบ [ต. อปโลกิโต] 

ชม ด่า

 
 โถมเณ ณยโถเม-มยชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ 
 ถุอ นาถว ถุนาชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ  อ สนฺถโว  ติ ถุติ 
 ป-สํสปสํสชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ [ต. ปสตฺโถ]  อ ปสํสา 
 วณฺณเณ ณยวณฺเณ-ณยสรรเสริญ; ขยาย, ขยายความ, พรรณนา; ทำสีขาวเป็นต้น; พยายาม; แสดง [#วัต. สํวณฺเณติ]  อ วณฺณํ #อวณฺณํ  ยุ สํวณฺณนา 
 อา-กุสอกฺโกสด่า [อัช. อกฺโกจฺฉิ] 
 ปฏิ-กุสปฏิกฺโกสด่าตอบ, ห้าม, คัดค้าน 
 ปริ-ภาสปริภาสด่า 
 ขุํสเณ ณยขุํเส-สยด่า, บริภาษ 
 สปอ ยสป สปฺย สปฺปด่า, สบถ, สาปแช่ง  สาโป 
 ตชฺชอ เณ ณยตชฺช ตชฺเช-ชยด่า, ขู่, ข่มขู่, คุกคาม [วัต. #สนฺตชฺชติ] 
 นิ-คหอ ณฺหานิคฺคห นิคฺคณฺหาขู่, ข่มขู่, ลงโทษ  [ตู. นิคฺคยฺห]  ยุ นิคฺคหณํ 
 ครหอ เณ ณยครห ครเห-หยติเตียน, นินทา, เกลียด, ชัง  ณฺย คารยฺโห 
 

นินฺท (นิทิ)

นินฺทติเตียน, นินทา  อ นินฺทา 

โกรธ รัก ชอบ เกลียด รังเกียจ อาย

 
 กุธกุชฺฌโกรธ, เคือง [ต. กุทฺโธ]  ณ โกโธ  ยุ โกธโน อกฺโกธโน 
 รุจย เณ ณยรุจฺจ โรเจ-จยชอบ, ยินดี [ต. รุจิโต]  ณี ธมฺมรูจี 
 ปิยปิยรัก  อ ปิโย 
 กุกฺกุจฺจ ศัพท์อายกุกฺกุจฺจายเกลียด, รังเกียจ, ประพฤติรังเกียจ 
 คุปชิคุจฺฉ (เทฺวภาวะ)เกลียด, รังเกียจ (คุป>คุปฺ>คุคุปฺ>คิคุปฺ>ชิคุปฺ>ชิคุจฺ (แปลงเพราะ ฉ ปัจ.)) 
 ลชฺชีลชฺชอาย, ละอาย  อ ลชฺชา 
 หเรหราย (เอ>อาย)อาย, ละอาย [มาน. หรายมาโน] 

ร้อง ร้องไห้ หัวเราะ ร่าเริง ยินดี

 
 รุรว โรร้อง  [วัต. #วิรวติ]  ณ รโว 
 รุทรุท โรทร้องไห้, หลั่งน้ำตา [ต. รุนฺโน; รุณฺณํ การ~ #อัช. ปโรทิ] 
 เทวเทวร้องไห้, คร่ำครวญ; เล่น  [วัต. #ปริเทวติ] 
 กนฺท (กทิ)อ เณ ณยกนฺท กนฺเท-ทยร้องไห้, คร่ำครวญ; ร้องเรียก; วุ่นวาย [วัต. #ปกฺกนฺทติ] 
 เคคายออกเสียง, ขับกล่อม, ร้องเพลง [ต. คีโต] 
 สํ-เคสงฺคายชำระ, สะสาง; รวบรวม, จัดสรร, ร้อยกรอง; ซักซ้อม; สวดพร้อมกัน [วัต. สงฺคายติ ต. สงฺคิโต]  ติ สงฺคีติ สํ-เค ยุ สงฺคายนา เอ>อาย 
 หสหสหัวเราะ, ร่าเริง [ต. หฏฺโฐ #ปหฏฺโฐ]  ณฺวุ สมฺปหํสโก  หาโส ปริหาโส 
 ชคฺฆชคฺฆหัวเราะ, ร่าเริง 
 รมรมยินดี [อนีย. รมณีโย ต. รโต ตู. #อภิรมฺม]  กฺวิ กุญฺชโร (กุญฺช-)  อ มโนรโม  ณ อาราโม  ติ รติ  ยุ อารมฺมณํ 
 มุทโมทยินดี  ยุ โมทนา โมทนํ ตัท. ตา มุทิตา 
 ป-มุทปโมทยินดี  ปมุโท ปโมโท ยุ ปโมทนา #อนุโมทนา ตัท. ณย ปามุชฺชํ ปาโมชฺชํ 
 นนฺทนนฺทยินดี, อิ่มใจ [วัต. #อภินนฺทติ]  อ อานนฺโท  อิ นนฺทิ  ยุ นนฺทนํ 
 ตุสตุสฺสยินดี, เอิบอิ่ม [ต. ตุฏฺโฐ]  สนฺโตโส  ติ สนฺตุฏฺฐิ  
 สาทสาทยินดี, สบายใจ, เพลินใจ  [วัต. #อสฺสาทติ]  สาโท, อสฺสาโท ณุ สาทุ หวาน อร่อยไพเราะ 

ปรารถนา, อยาก, ต้องการ

 
 ฉนฺทเณ ณยฉนฺเท-ทยปรารถนา, อยาก, ต้องการ, พอใจ 
 กมุอ เณ ณยกาม กาเม-มยปรารถนา, อยาก, ต้องการ  ธมฺมกาโม หิตกาโม  ติ นิกนฺติ 
 ปตฺถ ปฏฺฐเณ ณยปตฺเถ-ถย ปฏฺเฐ-ฐยปรารถนา, อยาก, ต้องการ, ขอ, มุ่งหวัง [มาน. ปตฺถยมาโน อาน. ปตฺถยาโน]  ยุ ปตฺถนา 
 อิสุ อิจฺฉอิจฺฉปรารถนา, อยาก, ต้องการ [ปัญ. #อติจฺฉถ ปรารถนาเกิน, โปรด(สัตว์)ข้างหน้า  ต. อิฏฺโฐ]  
ณฺย อิจฺฉา  อปฺปิจฺโฉ
 
 อาสาสอาสาส อาสิส อาสึสหวัง, ปรารถนา 
 อาสึส (อาสิสิ)อาสึสหวัง, ปรารถนา  [วัต. #ปจฺจาสึสติ (ปฏิ-)] 
 กงฺข (กขิ)กงฺขหวัง, ปรารถนา, อยาก; สงสัย ... ณฺย ปาฏิกงฺโข  กงฺขา 
 ป-วรเณ ณยปวาเร-รยปรารถนา, อยากได้; ปวารณา กัต. เหตุกัต. 
 ปิหเณ ณยปิเห-หยปรารถนา; กระหยิ่ม? (ครึ้มใจ, ภูมิใจ, อิ่มใจ) 
 ลุภลุพฺภโลภ, ละโมบ, มักมาก, อยาก [#วัต. โอลุพฺภติ]  โลโภ 
 รญฺช รนฺชอ ยรช รญฺช รชฺชกำหนัด, ย้อม  [ต. รตฺโต #วิรตฺโต เบื่อหน่าย คลายกำหนัด]  ราโค รงฺโค #วิราโค 
 สํ-อา-รญฺชสารชฺชกำหนัดนัก, ย้อม [ต. สารตฺโต] 
 นิ-วิทํ อนิพฺพินฺทเบื่อหน่าย [ต. นิพฺพินฺโน นิพฺพิณฺโณ] 

คิด รู้ ระลึก นึก จำ พิจารณา สงสัย

 
 จินฺตเณ ณยจินฺเต-ตยคิด, รู้, นึก [อัช. จินฺเตสิ จินฺเตสุํ จินฺตยิ จินฺตยึสุ]  ยุ จินฺตนํ 
 ตกฺกเณ ณยตกฺเก-กยตรึก  ธมฺมตกฺโก 
 สรสรระลึก, นึก; แล่นไป [อนีย. สรณีโย ต. สโต]  ตุ สริตา; สาเรตา เหตุ.  วิปฺปฏิสาโร  ติ สติ  ยุ สรณํ 
 ธา ธรอ เณ ณยธร ธาเร-รย ทธา (เทฺวภาวะ)ทรงไว้, ทรงจำ; รองรับ (ธาธา>ธธา>ทธา)  ตุ ธาตุ ธาตา ณฺย #มารเธยฺยํ  อ วิชฺชาธโร วินยธโร ธมฺมธโร ธมฺมธโร กาสาวธโร ติปิฏกธโร ชุตินฺธโร ปํสุกูลธโร อิทฺธิมยปตฺตจีวรธโร อุตฺตมรูปธรา (อิตฺถี)  อิ อุทธิ (อุทก-)  ยุ สโมธานํ (สํ-โอ-)  ธรณํ 
 เฌเฌ ฌาย (เอ>อาย)เพ่ง, เพ่งด้วยใจ, พิจารณา, คิด; เผา, ไหม้ เร่าร้อน, สว่าง [ต. ฌาโม]   อ อภิชฺฌา  ยุ ฌานํ 
 อุ-เฌอุชฺฌาย (เอ>อาย)เพ่งโทษ, ยกโทษ(ของผู้อื่น)ขึ้นพูด, ติเตียน, โพนทะนา 
 วิ-เฌวิชฺฌาย (เอ>อาย)(ไฟ) ดับ 
 ญานาชานารู้ [สัต. ชญฺญา ภวิส. ชานิสฺสติ ญสฺสติ  อันต. ชานํ  ตัพ. ญาตพฺโพ ชานิตพฺโพ ต. ญาโต 
ตู. ญตฺวา ชานิตฺวา ชานิย ชายิตฺวา (นา>ย)  ตเว. ญาตเว ตุํ. ญาตุํ ชานิตุํ]  ณฺวุ ชานนโก เภสชฺชชานนโก  ตุ ญาตา  รู ธมฺมญฺญู มตฺตญฺญู สพฺพญฺญู วรญฺญู วทญฺญู กตญฺญู รตฺตญฺญู  ณฺย เญยฺโย  ยุ ญาณํ #อญฺญาณํ (-น) ทุชฺชานํ  ตยฺย ญาตยฺยํ
 
 วิ-ญานาวิชานารู้แจ้ง, รู้วิเศษ [ตู. วิชานิตฺวา]  รู วิญฺญู  ณฺย  วิญฺเญยฺโย #สุวิญฺเญยฺโย  ติ วิญฺญตฺติ  ยุ วิญฺญาณํ วิญฺญาปนํ วิชานนํ 
 สํ-ญานาสญฺชานารู้พร้อม, รู้จัก, จำได้ [ ตู. สญฺชานิตฺวา]  สญฺญา  ยุ สญฺญาณํ สญฺชานนํ 
 ป-ญานาปญฺญาย  (นา>ย) รู้, ปรากฏ [วัต. ปญฺญยติ ปญฺญายติ อัช. ปญฺญายิ ต. ปญฺญาโต]  ปญฺญา  ยุ ปชานนํ 
 อนุ-ญานาอนุชานาอนุญาต [ต. อนุญฺญาโต] 
 อา-ญาอญฺญารู้, รู้ทั่วถึง, บรรลุ, ตรัสรู้ [วัต. อาณาเปติ เหตุ. ‘ให้รู้ทั่ว’ สั่ง, บังคับ อัช. อญฺญาสิ ต. อาณตฺโต ตู. อญฺญาย]  ตุ ญาตา อญฺญาตา  อญฺญา 
 มนมญฺญรู้, เข้าใจ, สำคัญ, คิด 
 อติ-มนอติมญฺญดูถูก, ดูหมิ่น 
 มนโอมโนรู้, รู้จัก, บรรลุ, ตรัสรู้  ติ มติ สารมติ  
 สํ-มนโอสมฺมโน?รู้พร้อม ... [ต. สมฺมโต]  ติ สมฺมติ 
 วิทวิทรู้, รู้แจ้ง [วัต. #ปฏิ(นิ)เวเทติ เหตุ. 'ให้รู้'=บอก อัช. อเวทิ ตัพ. เวทิตพฺโพ ]  ณี กตเวที  รู โลกวิทู สพฺพวิทู  ณฺย วิชฺชา อวิชฺชา ยุ เวทนา 
 พุธพุชฺฌรู้, ตรัสรู้, ตื่น [วัต. โพเธติ เหตุ. ต. พุทฺโธ อาน. #อภิสมฺพุทฺธาโน  ตู. สมฺพุชฌิย]  ตุ พุชฺฌิตา ทุรนุโพโธ  อิ โพธิ  ติ พุทฺธิ  ยุ พุชฺฌนํ 
 มุนนามุนารู้, ตรัสรู้; นิ่งอยู่ [ต. มุโต; มุตํ ความรู้]  โมนํ  อิ มุนิ ติ มุติ 
 อุป-ธรเณ ณยอุปธาเร-รยใคร่ครวญ, พิจารณา 
 อา-วชอ เณ ณยอาวชฺช อาวชฺเช-ชยใคร่ครวญ, พิจารณา 
 มานวิ-วีมํส (เทฺวภาวะ)ไตร่ตรอง, ทดลอง, พิจารณา, ไต่สวน (มาน>มานฺ>มามานฺ>มีมานฺ>วีมานฺ>วีมํ (แปลงเพราะ ส ปัจ.)) 
 นิ-สมเณ ณยนิสาเม-มยใคร่ครวญ, พิจารณา, แลดู, ฟัง [ตู. นิสมฺม] 
 สํ-อสสมฺมส 
(สํ>สมฺมา>สมฺม)
พิจารณาด้วยดี, พิจารณาโดยชอบ 
 ปฏิ-สํ-ขา พิจารณา [ตู. ปฏิสํขา ปฏิสงฺขา ปฏิสงฺขาย] 
 อนุ-วิท พิจารณา [ตู. อนุวิจฺจ] 
 อว-อิกฺขอเวกฺขพิจารณา [ตู. อเวกฺขิย] 
 สํ-อว-อิกฺขสมเวกฺขพิจารณา [ตู. สมเวกฺขิย สมเวกฺขิยาน] 
 ปติ-วิ-อิกฺขปจฺจเวกฺขพิจารณา [ตู. ปจฺจเวกฺขิย] 
 ปฏิ-สํ-จฺ-อิกฺขปฏิสญฺจิกฺขเห็นพร้อมเฉพาะ, พิจารณาเห็น 
 กขิ กงฺขกงฺขสงสัย; หวัง, ปรารถนา ... ณฺย ปาฏิกงฺโข 
 

สงฺก (สกิ)

สงฺกสงสัย; กลัว, สะดุ้ง; ไป, ถึง, บรรลุ 
 สํ-สีสํสยสงสัย 

หลง ลืม

 
 มุหมุยฺหหลง [ต. มุฬฺโห มูฬฺโห]  ณ โมโห 
 มุสมุสฺสลืม [ต. มุฏฺโฐ วัต. #ปมุสฺสติ ต. ปมุฏฺโฐ] 
 มทมชฺชเมา, ประมาท, เลินเล่อ [ต. #ปมตฺโต ตู. ปมชฺช]  ณฺย มชฺชํ  ปมาโท 
 มุจฺฉมุจฺฉหลง, เป็นลม, สลบ, แน่นิ่ง 
 ลุภลุภ โลภหลง [วัต. #ปโลเภติ เหตุ. ‘ให้หลง’ แปลเป็น กัตตุ. ว่าหลอกล่อ] 

ถาม ฟัง ได้ยิน เขียน

 
 ปุจฺฉปุจฺฉถาม [ต. ปุฏฺโฐ]  อ ปุจฺฉา  ยุ ปุจฺฉนํ 
 ปญฺหปญฺหถาม [วัต. #ปริปญฺหติ] 
 สุณุ ณาสุโณ สุณาฟัง, ได้ยิน 
[วัต. สุณาติ สุโณม; สุยฺยติ สูยติ กัม. สาเวติ เหตุ. 
อัช. อสฺโสสิ อสฺโสสุํ #อนุสฺสาเวสิ เหตุ.; อสฺโสสิตฺถ; อสฺโสสึ อสฺโสสิมฺหา 
ตวันตุ. สุตวา ต. สุโต; สาวิโต สาวาปิโต เหตุกัม. ตู. สุตฺวา ตุํ. โสตุํ]  ณี ธมฺมสฺสาวี  ณฺวุ สาวโก สาวิกา  ตุ โสตา  ติ สุติ  ยุ สวนํ ธมฺมสฺสวนํ
 
 ปฏิ-สุณาปฏิสุณาฟังตอบ, ตอบรับ, รับฟัง, รับคำ, รับรอง [วัต. ปจฺจสฺสุณาติ อัช. ปจฺจสฺโสสิ ตู. ปฏิสุณิตฺวา] 
 สุสุสฺสูสปรารถนาจะฟัง, อยากฟัง 
 อว-ธาโอทหฟัง [วัต. (โสตํ) โอทหติ ต. โอหิโต] 
 วิ-สหวิสหรับคำ 
 ลิขลิขเขียน; ทำให้บาง (กลึง, ขัด, ขูด) 
 คนฺถเณ ณยคนฺเถ-ถยแต่ง, เรียบเรียง, ร้อยกรอง  คนฺโถ คัมภีร์ 
 รจเณ ณยรเจ-จยทำ, จัดแจง, แต่ง, เรียบเรียง, รจนา 
 คณเณ ณยคเณ-ณยนับ, คำนวณ  ยุ คณนา 
 มาอ ย นา โอมา มาย มินา มิโนรัก, ทะนุถนอม; นับ, ชั่ง, เปรียบเทียบ [ต. นิมิตฺตํ]  ตุ มาตา  ปฏิมา ปติมา  มตฺตา ธญฺญมาโย  ยุ มานํ ปมาณํ ปริมาณํ อุปมานํ 
 ลุปลุปฺปลบ, ลบออก, ไม่เห็น, ไม่ปรากฏ [ต. ลุตฺโต] 

ดู เห็น พิจารณา

 
 โอ-โลกเณ ณยโอโลเก-กยมองดู, เห็น 
 ทิสปสฺสเห็น  [วัต. ทิสฺสติ กัม. สัต. ทกฺเขมุ เอยฺยาม>เอมุ หิย. อทฺทส อทฺทสํ อัช. อทฺทสํสุ อทฺทสาม (อทฺทสิมฺหา) ภวิส. ทกฺขติ; ตัพ. ทฏฺฐพฺโพ ต. ทิฏฺโฐ; ตู. ทิสฺวา ทิสฺวาน ตุํ. ทฏฺฐุํ]  ณี ภยทสฺสี ปรวชฺชานุปสฺสี  ทุทฺทโส สุทุทฺทโส สุทสฺโส  ติ ทิฏฺฐิ  ยุ ทสฺสนํ  อาวี ภยทสฺสาวี สพฺพทสฺสาวี 
 ทิสทิสฺสเห็น, ปรากฏ 
 อิกฺขอิกฺขเห็น, ดู, เพ่ง, พิจารณา  อ #เปกฺข (ป-) อุปสมฺปทาเปกฺโข เปกฺขา (ป-) อุเปกฺขา (อุป-) 
 อนฺตร-ธาอ ยอนฺตรธายไม่เห็น, ไม่ปรากฏ, อันตรธานไป [ต. อนฺตรหิโต] 
 มีลอ เณ ณยมีล มีเล-ลยหลับตา [#วัต. นิมีลติ] 
 อุ-มีลอุมฺมีลเปิดตา, ลืมตา 
 มิสมิสหลับตา [#วัต. นิเมสติ นิมฺมสติ] 
 อุ-มิสอุมฺมิสเปิดตา, ลืมตา 
 ป-สุปสวประสบ, พบ, เห็น 

แสดง

 
 ทิสเณ ณยเทเส-สยแสดง (นามธรรม), กล่าว, สวด [ภวิส. เทเสสฺสติ]  ณฺวุ เทสโก ธมฺมเทสโก ภตฺตุทฺเทสโก มคฺคุทฺเทสโก  ยุ เทสนา ธมฺมเทสนา 
 ทิสเณ ณยทสฺเส-สยแสดง (รูปธรรม) [อัช. ทสฺเสสิ ทสฺเสสุํ ทสฺสยิ ทสฺสยึสุ]  ณี วชฺชทสฺสี 
 อุ-ทิสอ เณ ณยอุทฺทิส อุทฺเทเส-สยแสดงขึ้น  [ปัญ. อุทฺทิสตุ ตู. อุทฺทิสิตฺวา อุทฺทิสิย; อุทฺทิสฺส ‘เจาะจง’ ใช้เป็นกิริยาวิเสสนะ] 
 นิ-ทิสอ ยนิทฺทิส นิทสฺสชี้แจง, แสดง, อธิบาย; อ้าง, อ้างถึง [ต. นิทฺทิฏฺโฐ นิทสฺสิโต] (ยุ นิทสฺสนํ) 
 อป-ทิสอ ยอปทิส อปทิสฺสแสดงอ้า่ง, อ้าง, กล่าวอ้าง, ชี้แจง  [ตู. อปทิสิตฺวา] ( อปทิโส อปเทโส ยุ อปทิสนํ) 

ปรากฏ

 
 วิ-สุวิสฺสวปรากฏ, มีชื่อเสียง [ต. วิสฺสุโต] 
 ปาตุ-ภูปาตุภวปรากฏ, มีปรากฏ, ปรากฏชัด [อัช. ปาตุภวิ] 
 ปาตุ-รฺ-หุปาตุรโหปรากฏ, มีปรากฏ, ปรากฏชัด [อัช. ปาตุรโหสิ] 

ศึกษา เรียน

 
 ทมเณ ณยทเม-มยทรมาน, ฝึก [ต. ทนฺโต]  ณฺวุ หตฺถิทมโก กุลทมโก  ณฺย ทมฺโม  อ ทโม 
 สิกฺขสิกฺขศึกษา  อ สิกฺขา  ยุ สิกฺขนํ 
 อธิ-อิอชฺฌายศึกษา, เล่าเรียน, อ่าน, สาธยาย  [วัต. อธิเต ไม่พบใน ไตร.] 
 อธิ-อิอธิย อธีย อธิยฺย (อิ>ย)ศึกษา, เล่าเรียน, อ่าน, สาธยาย  [วัต. อธียติ อธิยามิ อันต. อธียนฺโต มาน. อธียมาโน ตู. อธียิตฺวา] 
 คหณฺหาคณฺหาเรียน, เล่าเรียน [ตู. #อุคฺคณฺหิตฺวา]  ยุ #อุคฺคหนํ อุคฺคณฺหนํ 
 สํ-เฌสชฺฌาย (เอ>อาย)สวด, สาธยาย, ท่อง  สชฺฌาโย 
 ปริ-ยต  เล่าเรียน [ต. ปริยตฺโต]  ติ ปริยตฺติ 
 ปริ-ยฺ-อาปอุณาปริยาปุณาเล่าเรียน [ต. ปริยาปุโต]  ยุ ปริยาปุณนํ 

แผ่ เปล่ง

 
 ผรผรแผ่ไป 
 ตนโอตโน ตนุแผ่ไป 
 นิ-ฉรนิจฺฉร(เสียง, รัศมี) เปล่งออก, (สายฟ้า) แลบ, (ลิ้น) แลบออก อกมฺม. 
 นิ-ฉรเณ ณยนิจฺฉาเร-รยเปล่ง (เสียง, รัศมี), แลบ (ลิ้น) สกมฺม. 

ข้าม ผ่าน ขึ้น ลง ตก

 
 ตรตรข้าม, ผ่าน, กลิ้ง [ต. ติณฺโณ]  อ เวสฺสนฺตโร 
 อุ-ตรอุตฺตรข้ามขึ้น, ข้าม, ขึ้น [ต. อุตฺติณฺโณ] 
 โอ-ตรโอตรข้ามลง, ลง, โฉบลง [ต. โอติณฺโณ]  ยุ โอตรณํ 
 รุหรุหขึ้น, งอก, ขึ้น, ปรากฏ, เกิด [ต. รุฬฺโห]  อ สิโรรุโห  ยุ โรหณํ 
 อว-รุหโอโรหลง, โน้มลง [วัต. #ปจฺโจโรหติ ตู. โอรุยฺห]  ยุ เทโวโรหโณ 
 อา-รุหอารุห-โรหขึ้น, งอก  [ต. อารุฬฺโห ตู. อารุยฺห วัต. #อภิรุหติ] ยุ อภิรุหณํ 
 คาหคาหกวน, คน (ธาตุนี้ไม่มีการซ้อน ค) 
 อธิ-โอ-คาหูอชฺโฌคาหหยั่งลง, จมลง, โฉบลง, เข้าไป [ต. อชฺโฌคาฬฺโห] 
 โอ-กมโอกฺกมก้าวลง, หยั่งลง [ตู. โอกฺกมฺม] 
 ปตปตตก, ล้ม, (ครรภ์) แท้ง [วัต. ปาเตติ ต. ปาติโต เหตุกัม. #วัต. ปปติ]  ณี ปาณาติปาตี 
 อภิ-อุ-คมอพฺภุคฺคมบินขึ้น, เหาะขึ้น, (ชื่อเสียง) ฟุ้งขจรไป/โด่งดัง [เฉพาะ อัช. อพฺภุคฺคญฺฉิ ต. อพฺภุคฺคโต] 
 อุ-ปตอุปฺปตกระโดดขึ้น, บินขึ้น, เหาะขึ้น  ยุ อุปฺปตนํ 
 อธิ-อุ-ปตอชฺฌุปฺปตตกลง, โฉบลง [ต. อชฺฌุปฺปตฺโต] 
 ภสฺสภสฺสพลัดตก, พลาด, เคลื่อน, หล่น, ล้ม, หัก; รุ่งเรือง, ส่องสว่าง [ต. ภฏฺโฐ] 
 

ลงฺฆ (ลฆิ)

อ เณ ณยลงฺฆ ลงฺเฆ-ฆยกระโดด, เหาะ, เหิน, ลอยไป [#วัต. อุลฺลงฺฆติ] 

ลอย จม

 
 วหวุยฺหลอย, นำไป [ต. พาหิโต พาฬฺโห]  อ สุขาวโห (สุข-อา-) หิตาวโห  วาโห  ยุ วหนํ วาหนํ 
 ปฺลุปฺลวไป, ลอยไป (ในน้ำ) 
 ปลวปลวไป, ลอยไป (ในน้ำ) 
 นิ-มุชฺชนิมุชฺชจม, จมลง, ดำลง, ดำน้ำ [ต. นิมฺมุคฺโค] 
 สิทสีทปล่อย; ติด, ชุ่มชื่น; หลง; หุง, ต้ม, นึ่ง; จม [วัต. โอสาเทติ เหตุ. ‘ให้จมลง’ ต. สินฺโน ‘ชุ่ม’]  อ กุสีโต (กุจฺฉิต-สิท  ลบเหลือ กุ) 

นำไป นำมา นำออก (นี นำคน-สัตว์; หร นำสิ่งของ ...)

 
 นิ นีเน นยนำไป [วัต. นียติ กัม. ต. นีโต ตู. เนตฺวา]  ณฺวุ นายโก-ยิกา โลกนายโก  ตุ เนตา  ณฺย เนยฺโย เวเนยฺโย  นโย วินโย  ติ ภวเนตฺติ  ยุ นยนํ 
 อา-นีอาเน-นยนำมา [ต. อานีโต] 
 อป-นีอปเนนำออก [ต. อปนีโต] 
 หรหรนำไป [วัต. หราเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ) ต. หโต-โฏ]  ณฺย หาริโย  ยุ รโชหรณํ 
 อภิ-หรอภิหรนำไป [ต. อภิหโต-โฏ ตุํ. อภิหฏฺฐุํ อภิหริตุํ] 
 อา-หรอาหรนำมา [ต. อาหโต-โฏ]  อาหาโร 
 โอ-หรโอหรนำลง, ปลงลง ปลงผมและหนวด  [วัต. โอหาราเปติ เหตุ. (วุทธิ)] 
 นิ-หรนีหรนำออก, ขับไล่   (ใช้กับคนได้) 
 ป-อชปาเชขับ, ต้อน, ไล่ 
 อป-หรอปหรนำไปทิ้ง, ฉวยเอาไป 
 หรชิคึส ชิคีส  (เทฺวภาวะ)ปรารถนาจะนำไป, อยากนำไป (หร>หหร>หิหร>ชิหร>ชิคึ/ชิคี) 
 วห วุหวหนำไป, เจริญ, เพิ่มขึ้น [ต. วุฬฺโห] 
 อา-วหอาวหนำมา 
 อา-ภม นำมา [ต. อาภโต อาภโฏ] 

ทิ้ง สละ ละ เว้น

 
 ขิปขิปทิ้ง, ขว้าง, โยน; ไอ, จาม [วัต. ขิปาเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ)] ต. ขิตฺโต]  อ จิตฺตกฺเขโป 
 ฉฑฺฑเณ ณยฉฑฺเฑ-ฑยทิ้ง, ขว้างทิ้ง [ต. ฉฑฺฑิโต]  ณฺวุ กจวรจฺฉฑฺฑโก-ฑิกา 
 ฉุภฉุภโยนทิ้ง, นำออก, ขับไล่ [ต. ฉุฑฺโฑ ฉุทฺโธ] 
 จชจชสละ, บริจาค [ต. จตฺโต]  จาโค อติปริจาโค  ยุ จชนํ 
 วิ-สชฺชวิสฺสชฺชสละ, แบ่งปัน; แก้/ตอบ (คำถาม)  [วัต. #นิสฺสชฺชติ, อุสฺสชฺชติ]  ยุ วิสฺสชฺชนา 
 วิ-รมวิรมงด, เว้น   ยุ วิรมณํ เวรมณี 
 รหอ เณ ณยรห รเห-หยสละ, ทิ้ง 
 หาชห ชหา (เทฺวภาวะ)ละ, สละ, ปล่อย; เสื่อม, เลว (หาหา>ชาหา>ชหา) [ตู. หิตฺวา ชหิตฺวา]  อ สพฺพญฺชโห 
 ป-หาปหิยฺย ปหีย ปหายละ, สละ, ทิ้ง, ปล่อย; เสื่อม, เลว [ต. ปหีโน ตู. ปหาย #โอหาย]  ติ ชานิ 
 ปริ-หาปริหายเสื่อมสิ้น, เสื่อมรอบ [ต. ปริหีโน]  ติ ปริหานิ 
 อุชฺฌอุชฺฌสละ, ละ, ทิ้ง 
 วชฺชีอ เณ ณยวชฺช วชฺเช-ชยเว้น, สละ, แบ่งปัน [วัต. #ปริวชฺเชติ]  ณฺย ปพฺพชฺชา 
 สรเณ ณยสเร-รย สาเร-รยซัดไป, ละ, ทิ้ง; ขยาย, พิสดาร  
 ป-สรเณ ณยปสาเร-รยเหยียด (มือ, แขน) 
 นุทนุทซัดไป, ขว้าง, ทิ้ง, ขจัด, บรรเทา [วัต. #วิโนทติ ปนุทติ อปนุทติ] 

ส่งไป

 
 เปสเณ ณยเปเส-สยส่งไป  [ต. เปสิโต] 
 ปหเณ ณยปาเห-หยส่งไป [ต. ปหิโต ตัพ. ปาเหตพฺโพ] 
 ป-หิณุ ณาปหิณ ปหิณาส่งไป [ต. ปหิโต] 
 อุ-ยุชเณ-ณยอุยฺโยเชส่งไป [ต. อุยฺโยชิโต] 

รวม รวบรวม

 
 สํ-หรสํหรรวบรวม, ย่อ 
 สํ-คหณฺหาสงฺคณฺหาสงเคราะห์, รวบรวม  อ สงฺคโห 
 จินาจินาก่อ, สั่งสม  อ #สนฺนิจโย อุจฺจโย ปริจโย 

ขอ

 
 ภิกฺขภิกฺขขอ  รู ภิกฺขุ 
 ยาจยาจขอ  ณฺวุ ยาจโก 
 วรเณ ณยวาเรขอ, ต้องการ 

ให้ ได้ ลัก

 
 ทาเท ททา (เทฺวภาวะ)ให้ (ทา>ทาทา>ทา) 
[วัต. ทชฺชติ ทมฺมิ ทมฺม; ทียติ ทิยฺยติ กัม. 
สัต. ทชฺเชยฺย ทชฺชา ทชฺชุํ ทชฺชํ หิย. อททา อททู 
อัช. อทาสิ อทํสุ ภวิส. ทสฺสติ มาน. ททมาโน 
ตัพ. ทาตพฺโพ ต. ทินฺโน; ใช้ในสมาส แปลงเฉพาะศัพท์ -ทตฺโต -ทตฺติโย -ทตฺติโก: พุทฺธทตฺโต ~ทตฺติโย ~ทตฺติโก – เทว~ สกฺก~ ภิกฺขุ~ ตู. ทตฺวา] ณี อทินฺนาทายี  ณฺวุ ทายโก อนฺนทายโก-ยิกา (อา>อาย) ตุ ทาตา  ณฺย เทยฺยํ  อ อายุโท พลโท ปุรินฺทโท  ทาโย ทานทาโย ทายํ  ยุ ทานํ
 
 ปฏิ-ทาปฏิเทให้กลับ, ให้คืน 
 ปริ-วิสปริวิสให้/ถวาย/เลี้ยง อาหาร, อังคาส (คำเขมร) 
 นิ-ยตเณ ณยนิยฺยาเท-ทย (ต>ท)มอบให้, แลกเปลี่ยน (คัมภีร์ฝ่ายศาสนาแปลง ต เป็น ท  ส่วนคัมภีร์ฝ่ายโลกียะไม่แปลงเป็น ท) 
 ปฏิ-ปทเณ ณยปฏิปาเท-ทยมอบให้, จัดหาให้, จัดแจง, ให้สำเร็จ, บันดาล 
 โอ-นุทเณ ณยโอโณเช-ชยอุทิศ, ให้, ล้าง, ชำระ 
 ลภลภได้ [อัช. อลตฺถ (อี>ตฺถ) อลตฺถํ (อึ>ตฺถํ) ภวิส. ลจฺฉติ ตัพ. ลทฺธพฺโพ ต. ลทฺโธ 
ตู. ลทฺธา ลทฺธ ตุํ. ลทฺธุํ ณฺย. ลพฺภา] ทุลฺลโภ สุลโภ  ณฺย ลพฺโภ   ลาโภ  ติ ลทฺธิ
 
 ปฏิ-ลภปฏิลภได้เฉพาะ, กลับได้ 
 วิท ํอวินฺทได้, ประสบ; พิจารณา; ยินดี 
 จุรเณ ณยโจเร-รยลัก, ขโมย [อัช. โจเรสิ โจเรสุํ โจรยิ โจรยึสุ]  ตุ โจเรตา  โจโร 
 เถนเณ ณยเถเน-นยลัก, ขโมย 
 อว-หรอวหรลัก, ขโมย  อวหาโร 

จับ รับ ถือ

 
 คหณฺหาคณฺหาถือเอา, จับ, รับ; เรียน [วัต. คณฺหาติ คณฺหติ; คยฺหติ กัม. 
อัช. อคณฺหิ คณฺหิ อคฺคเหสิ คณฺหึสุ; อคาหยิ ณย เหตุ. ภวิส. คเหสฺสติ ตู. คเหตฺวา; อคฺคเหตฺวา/อคฺคณฺหิตฺวา (น-) ตุํ. คเหตุํ]  ณฺวุ คาหโก  ณฺย คยฺหํ  อ เคหํ วิคฺคโห  ณ คาโห ปตฺตคฺคาโห รชฺชุคฺคาโห รสฺมิคาโห องฺกุสคาโห ฆรํ  ยุ คหณํ คณฺหณํ
 
 อุ-คหณฺหาอุคฺคณฺหาหยิบ, หยิบขึ้น, ยกขึ้น; เรียน [ตู. อุคฺคเหตฺวา; อุคฺคหาเปตฺวา เหตุ.] 
 ป-คหอ ณฺหาปคฺคห ปคฺคณฺหาถือ, จับ, ประคอง, ยกย่อง, สนับสนุน, อุดหนุน [ตู. ปคฺคยฺห]  อ ปคฺคโห  ยุ ปคฺคหณํ 
 ปฏิ-คหณฺหาปฏิคฺคณฺหารับเฉพาะ, รับประเคน 
 อา-ทาอาทิยถือเอา, ยึดถือ [ตู. อาทาย อาทยิตฺวา #ปริยาทาย อาน. อนุปาทิยาโน (น-อุป-)]  อ #อุปาทา 
 สํ-อา-ทาสมาทิยถือเอา, ยึดถือ [ตู. สมาทาย สมาทยิตฺวา] 
 สํ-อา-ทาณาเป เหตุ.สมาทเปให้ถือเอา  แปลให้เป็นกัตตุวาจก ในความหมายว่า ‘ชักชวน’ [ตู. สมาทเปตฺวา . สมาทปิโต] ณฺวุ สมาทปโก 
 สํ-อา-ทยเอสมาทเป (ย>ป)ชักชวน  [ตู. สมาทเปตฺวา . สมาทปิโต]   ณฺวุ สมาทปโก 
 อา-มสอามสจับต้อง, ลูบคลำ [ต. อามฏฺโฐ] 
 ปรา-มสปรามสจับต้อง, ลูบคลำ, ยึดมั่น [ต. ปรามฏฺโฐ]   ปรามาโส 
 ฉุปฉุปถูกต้อง, สัมผัส [#วัต. อจฺฉุปติ] 
 ผุสผุส ผุสฺสถูกต้อง, สัมผัส [ต. ผุฏฺโฐ ตุํ. ผุฏฺฐุํ]   ผสฺโส 
 หน จรด, ชน, กระทบ [ตู. อาหจฺจ #อุปหจฺจ ปฏิหญฺญ อูหจฺจ ถอนขึ้น] 
 อา-สชอาสชฺชจรด, ชน, กระทบ; ติด, ข้อง [ตู. อาสชฺช] 
 สํ-ปฏิ-อิสสมฺปฏิจฺฉรับ, รับพร้อม 
 ลาลาถือเอา  ณฺวุ มหลฺลโก 

อนุเคราะห์ ช่วยเหลือ

 
 อนุ-คหณฺหาอนุคฺคณฺหาอนุเคราะห์, ช่วยเหลือ 
 

อุป-

ถมฺภ (ถภิ)

อุปถมฺภ อุปตฺถมฺภช่วยเหลือ, ทำให้มั่นคง, อุดหนุน, อุปถัมภ์, ค้ำจุน, สนับสนุน [ตู. อุปตฺถมฺภิตฺวา] 

ใส่เข้า ถอน เอาออก

 
 ป-ขิปปกฺขิปใส่, ใส่เข้า [ต. ปกฺขิตฺโต] 
 นิ-ขิปนิกฺขิปเก็บ [ต. นิกฺขิตฺโต] 
 อา-วหอพฺพุหถอน; นำมา [ตู. อพฺพุยฺห]  ณ อาวาโห อาวาหํ (มงฺคลํ) #วิวาหํ (มงฺคลํ) 
 ปฏิ-สมเณ ณยปฏิสาเม-มยเก็บรักษา, ยึดครอง [ตู. #สํสาเมตฺวา]  ยุ ปฏิสามนํ 

ดึง ลาก ฉุด ยก

 
 นิ-กฑฺฒนิกฺกฑฺฒดึงออก, ลากออก 
 อา-กฑฺฒอากฑฺฒดึงออก, ลากออก, ฉุด, ชัก 
 อญฺฉ (อฉิ)อญฺฉดึง, ลาก, ฉุด, ชัก 
 อุ-ขิปอุกฺขิปยก, ยกขึ้น [ต. อุกฺขิตฺโต] 
 อา-รุปเณ ณยอาโรเป-ปยยก, ยกขึ้น [ต. อาโรปิโต]  ยุ อาโรปนํ 
 วิ-โอ-รุปเณ ณยโวโรเป-ปยยกลง, ปลงลง [วัต. (ชีวิตา) โวโรเปติ ปลงลงจากชีวิต =ฆ่า ต. โวโรปิโต]  ยุ โวโรปนํ 
 โอ-ตรเณ ณย เหตุ.โอตาเร-รยให้ข้ามลง (=ยกลง) 

เหยียบ ทุบ ตี ฆ่า ทำร้าย เบียดเบียน

 
 อา-กมอกฺกมเหยียบ, ย่ำ [ต. อกฺกนฺโต] 
 มถ มตฺถมถ มตฺถ มเถรวบกวน, ทำให้วุ่นวาย, ย่ำยี 
 มทฺทมทฺทเหยียบ, ย่ำ, ย่ำยี, ขยำ [ต. มตฺโต] 
 โอ-มทฺทโอมทฺทเหยียบลง, ขยุ้มลง ... 
 ป-หรปหรประหาร, ทุบ, ตี (สิ่งมีชีวิต) [ต. ปหโต] 
 ปุถย เณ ณยปุตฺถย โปเถ-ถยประหาร, ทุบ, ตี [วัต. #นิปฺโปเถติ] 
 กุฏเณ ณยโกเฏ-ฏยตอก, ตำ, ตี, ทุบ, บุ, เคาะ; ตัด, เกี่ยว, ปัน [วัต. #อาโกเฏติ] 
 โกฏฺฏอ เณ ณยโกฏฺฏ โกฏฺเฏ-ฏยตอก, ตำ, ตี, ทุบ, บุ, เคาะ; ตัด, เกี่ยว, ปัน 
 ทุณุ ณา; นาทุโณ ทุณา ทุนาเบียดเบียน  อ อุปทฺทโว 
 หนหนฆ่า, เบียดเบียน, กำจัด [วัต. หญฺญติ กัม.; วธติ วเธติ (หน>วธ); วเธติ เหตุ.; ฆาเตติ (หน>ฆาต); ฆาเตติ ฆาตยติ เหตุ. สัต. ฆาตเย ณย ปัจ. เหตุ. ต. หโต ตู. หนฺตฺวา วธิตฺวา ฆตฺวา ฆาเตตฺวา ตุํ. หนฺตุํ]  ณี ปาณฆาตี ปรูปฆาตี  ณฺวุ ฆาตโก โคฆาตโก โจรฆาตโก หํสฆาตโก  ตุ หนฺตา วชฺฌตา  รู วธู  ณฺย วชฺโฌ  วโธ อนูปฆาโต  ยุ อาฆาตนํ 
 หนหญฺญเบียดเบียน, กระทบกระทั่ง [วัต. หญฺญติ กัต.] 
 หึส (หิสิ) ํอ เณ ณยหึส หึเส-สยเบียดเบียน  ณฺวุ อหึสโก (น-) 
 ปีฬเณ ณยปีเฬ-ฬยเบียดเบียน, บีบคั้น, ฆ่า 
 ฆฏเณ ณยฆเฏ-ฏยเบียดเบียน, เบียดเสียด, รวมกัน 
 พาธพาธห้าม; ทำลาย, ฆ่า, เบียดเบียน  อ อาพาโธ 
 พุนฺธ (พุธิ)เณ ณยพุนฺเธ-ธยเบียดเบียน  ปลิโพโธ (ปริ-) 
 เหฐเหฐเบียดเบียน, บีบคั้น [วัต. #วิเหฐติ] 
 ตุทตุทแทง, เสียบ; ชนะ, ครอบงำ, ทำอันตราย [วัต. #อภิตุทติ ต. #อภิตุนฺโน] 
 วิธวิชฺฌแทง, เสียดแทง [ต. วิทฺโธ ตู. วิทฺธา] 
 ปฏิ-วิธปฏิวิชฺฌแทงตลอด [ต. ปฏิวิทฺโธ ตู. ปฏิวิทฺธา] 
 รุชรุชฺชแทง, เสียดแทง; เป็นโรค, เจ็บป่วย  ณ โรโค 
 ทุสทุสฺสไม่ชอบใจ, ทำลาย, ประทุษร้าย [ต. ทุฏฺโฐ]   โทโส ปโทโส 
 อป-ราธอปรชฺฌประทุษร้าย, ผิด 
ฆ่า: ฆาเตติ วธติ (หน),  หึสติ,  มาเรติ ให้ตาย,  ชีวิตา โวโรเปติ ปลงลงจากชีวิต,  ปาณํ อติปาเตติ ยังชีวิตให้ตกล่วง,  ชีวิตกฺขยํ ปาเปติ/ปาปิโต ให้ถึงความสิ้นชีวิต 

ตัด เจาะ ทำลาย แตก เสื่อม

 
 ลูนาลูนา ลุนาตัด, เกี่ยว [ต. ลูโน]  ยุ ลวนํ  โลณํ 
 กนฺตกนฺตตัด, ผ่า, เชือด, ควัก; กรอด้าย, ปั่นด้าย 
 ผล ผฬเณ ณยผาเล-ลยตัด, ผ่า 
 เววย วายกรอด้าย; ให้เหี่ยวแห้งไป; สรรเสริญ; สำรวม  วายุ วาโย ตนฺตวาโย  
 กุสกุสตัด, ด่า ... 
 ธุนาธุนากำจัด, ทำลาย 
 ธํสเณ ณยธํเส-สยกำจัด, ทำลาย 
 ทูสเณ ณยทูเส-สยกำจัด, ทำลาย, ประทุษร้าย  ณฺวุ กุลทูสโก กุฏิทูสโก 
 ทลอ เณ ณยทล ทาเล-ลยทำลาย, แตก [วัต. #ปทาเลติ สมฺปทาเลติ]  ยุ #สมฺปทาลนํ 
 ภิท ํอภินฺททำลาย, ต่อย, ตัด  สกมฺม. [ต. ภินฺโน]  ตุ เภตฺตา 
 ภิทภิชฺชแตก; ต่างกัน อกมฺม. [ต. ภินฺโน  วัต. #ปภิชฺชติ]  อ #ปฏิสมฺภิทา   เภโท สีลเภโท 
 ผลผลแตกสลาย; ทำลาย; สำเร็จ, เผล็ดผล 
 ผุลฺลผุลฺลบาน, เผยออก, แตก, ทำลาย, สลาย [ต. ผุลฺลิโต] 
 ผุฏอ เณ ณยผุฏ โผเฏ-ฏยบาน, เผยออก, แตก, ทำลาย, สลาย; สะบัด, ปรบ [ต. ผุลฺโล]  ยุ โผฏนํ ปรบ(มือ) 
 ภญฺชภญฺชหัก; ผ่า, ทำลาย [ต. ภคฺโค ภฏฺโฐ]  ณ ภคฺโค ภงฺโค 
 ภชภชแบ่ง, จำแนก; คบ, เสพ ณฺย ภาคฺโย  สํวิภาโค  ติ ภตฺติ วิภตฺติ  ยุ ภชนํ 
 ภาชเณ ณยภาเช-ชยแจก, จำแนก ภาโค  ติ วิภตฺติ 
 นสนสฺสฉิบหาย, พินาศ [วัต. นาเสติ นาสยติ เหตุ. ต. นฏฺโฐ; นาสิโต เหตุกัม.]  ณฺวุ กปฺปวินาสโก   วินาโส 
 ลีอ ยลย ลาย ลียละลาย, พินาศ, ย่อยยับ [วัต. #วิลียติ] 
 เฉฉวตัด, ฉีก, ขาด, ทำลาย [ตู. เฉตฺวา] 
 ฉิท ํอฉินฺทตัด, บั่น, แบ่ง, ผ่า, ทอน, ชิง สกมฺม. [วัต. #สญฺฉินทติ  ต. ฉินฺโน ตู. อจฺฉินฺทิ อ-ฉึทณี สนฺธิจฺเฉที 
 อา-ฉิท ํออจฺฉินฺทตัด, ชิง สกมฺม. [ต. อจฺฉินฺโน ตู. อจฺเฉชฺชิ อา-ฉิท-ย] 
 สํ-อุ-ฉิท ํอสมุจฺฉินฺทตัดขาด ... สกมฺม. 
 อุ-ฉิท ํออุจฺฉินฺทตัด, ขจัด สกมฺม. [วัต. อุจฺฉิชฺชติ กัม. ต. อุจฺฉิฏฺโฐ ‘อันเขาทิ้ง, อันเป็นเดน’] 
 ฉิทฉิชฺชขาด, ทะลุ, แตก, สลาย อกมฺม. [วัต. #ปจฉิชฺช ต. ฉินฺโน]   ฉิทฺทํ ช่อง ฉิทฺท เฉโท #ปริจฺเฉโท สมุจฺเฉโท ยุ ฉิชฺชน 
 ฉิทฺทเณ ณยฉิทฺเท-ทยเจาะ, เป็นรู, เป็นโพรง   
 เฉทเณ ณยเฉเท-ทยตัด, ผ่า ... ยุ เฉทนํ 
 ขีขียสิ้น, เสื่อม, หมด; อยู่, อาศัย [วัต. เขเปติ เหตุ. ต. ขีโณ]  ขโย ปริกฺขโย ธนกฺขโย 

ขุด ไถ ไส

 
 กสกส กสฺสไถ, เสือก, ไส [วัต. กสาเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ)] ต. กฏฺโฐ]  ณฺวุ กสโก กสฺสโก  อิ กสิ 
 ขนขนขุด, เจาะ, ไช [วัต. ขนาเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ) ต. ขโต]  กฺวิ #สงฺโข (สํ-)  ตุ ขตฺตา 
 ตจฺฉตจฺฉถาก, ไส, ทำให้บาง  ณฺวุ ตจฺฉโก 
 ลิขลิขเขียน; ทำให้บาง (กลึง, ขัด, ขูด) 

คด งอ

 
 อิญฺชอิญฺชไหว, หวั่นไหว, งอ, คู้เข้า [วัต. #สมิญฺชติ, สมฺมิญฺชติ] 
 กุฏกุฏคด, โค้ง, งอ, โกง, บิด, ตัด, เกี่ยว, ปัน 
 ภุชภุชคด, งอ, (งู) ขด [ตู. #อาภุชิตฺวา (นั่ง) คู้(บัลลังก์)] 

ครอบงำ กดขี่

 
 อภิ-ภูอภิภวครอบงำ [ต. อภิภูโต ตู. อภิภุยฺย]  กฺวิ อภิภู #สพฺพาภิภู 
 ป-สหอ ยปสห ปสยฺหกดขี่, ข่มเหง [ตู. ปสยฺห]  ณฺย ปสยฺโห 

สำเร็จ

 
 กปฺปอ เณ ณยกปฺป กปฺเป-ปยสำเร็จ, กำหนด, ถึง, บรรลุ; ทำ, คิด, นึก... ; ตัด, โกน 
 ตีรเณ ณยตีเร-รยทำ(การงาน)สำเร็จ  ยุ สนฺตีรณํ 
 สิธสิชฺฌสำเร็จ [ต. สิทฺโธ] 
 สาธอ ยสาธ สาธยสำเร็จ [วัต. สาเธติ เหตุ.] 
 สํ-อิธสมิชฺฌสำเร็จ  ติ สมิทฺธิ 
 สํ-ปทสมฺปชฺชถึงพร้อม, สำเร็จ, สมบูรณ์ [วัต. สมฺปาเทติ เหตุ. ต. สมฺปตฺโต สมฺปนฺโน; สมฺปาทิโต เหตุกัม.]  อ สมฺปทา  ติ สมฺปตฺติ 
 นิ-ฐานิฏฺฐาตั้ง, ตั้งลง, สำเร็จ, จบ [ต. นิฏฺฐิโต] 
 นิ-ปทนิปฺปชฺช นิปฺผชฺชถึงพร้อม, สำเร็จ, สมบูรณ์ [วัต. นิปฺผาเทติ เหตุ. ต. นิปฺปนฺโน นิปฺผนฺโน]  ติ นิปฺปตฺติ นิปฺผตฺติ 
 อว-โสอวสฺยจบลง, สำเร็จลง, สิ้นสุดลง [ต. อวสิโต วัต. #ปริโยสาเปติ เหตุ.  อวสาโย  ยุ อวสานํ โอสานํ ปริโยสานํ 

เจริญ สว่าง รุ่งเรือง มั่นคง

 
 วฑฺฒวฑฺฒเจริญ, งอกงาม, เติบโต, เพิ่มขึ้น [วัต. วฑฺเฒติ เหตุ. ตู. วฑฺเฒตฺวา เหตุ. ต. วุฑฺโฒ]  ติ วุฑฺฒิ 
 รุจโรจรุ่งเรือง, งดงาม [วัต. #วิโรจติ]  อิ รุจิ ธมฺมรุจิ  ยุ โรจโน วิโรจโน 
 ชุตอ เณ ณยโชต โชเต-ตยสว่าง, รุ่งเรือง, โพลง  ยุ โชตโน 
 ทีปทิปฺปสว่าง, รุ่งเรือง, โพลง; ร้อน, ไหม้ [ต. #อาทิตฺโต]  ทีโป ปทีโป ประทีป, โคมไฟ ทีโป ทวีป  ติ ทิตฺติ ความสว่าง รุ่งเรือง 
 ภาภา ภายสว่าง, รุ่งเรือง, แจ่มแจ้ง [วัต. #วิภาติ วิภายติ ปภาติ ปฏิภาติ ต. วิภาโต]  กฺวิ #ปภา 
 ภูเณ ... ณาปย เหตุ.ภาเว-วย ภาวาเป-ปย(ทำให้)เจริญ-มี-เป็น, อบรม(จิต)  [ต. ภาวิโต เหตุกัม.] 
 ภาสภาสสว่าง, รุ่งเรือง; พูด  ยุ ภาสโน 
 ชลชลสว่าง, รุ่งเรือง, บริบูรณ์; คม; หวั่นไหว [วัต. (อคฺคึ) ชาเลติ เหตุ. #(อคฺคิ) ปชฺชลติ] 
 พหพหเจริญ, มั่นคง [ต. พาฬฺโห] 
 พฺรูหพฺรูหเจริญ, ประเสริฐ [ปัญ. พฺรูหย ณย เหตุ. หิ ปัญ.พฺรหฺมา 
 ผายีผายเจริญ, เพิ่ม [ต. ผาโต ผีโต]  ยุ เผโณ  ติ ผาติ 
 ถิรถิรมั่นคง 

กราบ ไหว้ บูชา นอบน้อม เคารพ สักการะ

 
 วนฺทวนฺทไหว้  [ตู. อภิวนฺทิย] ณฺวุ วนฺทโก  ยุ วนฺทนํ 
 อภิ-วทีเณ ณยอภิวาเท-ทยกราบไหว้, อภิวาท, สรรเสริญ 
 นมสฺสนมสฺสน้อมไหว้ 
 วิ-อติ-นมเณ ณย เหตุ.วีตินาเม-มย(ยังกาล) ให้น้อมไปล่วงวิเศษ, ให้เวลาผ่านไป เหตุ. 
 นมนมน้อม, นอบน้อม 
 โอ-นมโอนมน้อมลง, ก้มลง [วัต. โอนมาเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ) ต. โอนโต] 
 อุป-นมเณ ณยอุปนาเม-มยน้อมเข้าไป, นำเข้าไป, น้อมถวาย 
 มานอ เณ ณยมาน มาเน-นยบูชา, นับถือ  ยุ มานนํ มานนา 
 ปูชเณ ณยปูเช-ชยบูชา  ณฺวุ อาจริยปูชโก ปติปูชิกา (อิตฺถี)  ปูชา 
 อป-จายอปจายบูชา, นับถือ, เคารพ  ณี อปจายี วุฑฺฒาปจายี  ติ อปจิติ  ยุ อปจายนํ อปจายนา 
 ยชยชบูชา, บูชาเทพ, เซ่นสรวง [ต. ยิฏฺโฐ]   ยาโค  ยุ ยชนํ 
 หุหว ชุโห (เทฺวภาวะ)บูชา (หุหุ>ชุหุ>ชุโห)   ยุ หวนํ #อาหุนํ 
 สํ-กรโอสกฺกโรทำโดยดี, สักการะ [ตู. สกฺกจฺจ #อธิกิจฺจ] 
 ครุ-กรโอครุกโรทำให้หนัก, เคารพ 

เกิด อุบัติ

 
 ชนชายเกิด [ต. ชาโต ตู. ชนิตฺวา; ชเนตฺวา เหตุ. (ไม่วุทธิ)กฺวิ อตฺรโช กมฺมโช วาริโช อณฺฑโช ชลโช อนุโช ทฺวิโช  ชโน  ณฺวุ ชนโก ชนิกา  ตุ ชนฺตุ (แจกอย่าง ครุ) ติ ชาติ 
 วิ-ชนวิชายคลอด (ลูก) [ต. วิชาโต กัต.(ซึ่ง)] 
 สํ-ชนสญฺชายเกิด, เกิดพร้อม, เกิดดี, เกิดเอง [ต. สญฺชาโต] 
 สูอ ยสู สูยคลอด (ลูก), ให้เกิด, เกิด, ประสูติ [วัต. #ปสวติ ต. ปสูโต] 
 อณฺฑอณฺฑออก (ไข่) 
 อุ-ปทอุปฺปชฺชเกิดขึ้น [วัต. อุปฺปาเทติ เหตุ. อัช. อุทปาทิ อุ-ทฺ-อ-ปท-ย-อี ต. อุปฺปนฺโน; อุปฺปาทิโต เหตุกัม. ตู. อุปฺปชฺช]  ตุ อุปฺปชฺชตา  ณ อุปฺปาโท  ติ อุปฺปตฺติ  ยุ อุปฺปชฺชนํ 
 อุป-ปทอุปปชฺชเกิดขึ้น, ปรากฏขึ้น; เข้าถึง [วัต. อุปปชฺชเร (=อุปปชฺชนฺติ ใช้ในคาถา)]  ยุ อุปปชฺชนํ 
 นิ-วตฺตุนิพฺพตฺตเกิด, บังเกิด [วัต. นิพฺพตฺตติ; นิพฺพตฺเตติ เหตุ. อัช. นิพฺพตฺติ ต. นิพฺพตฺโต ตู. นิพฺพตฺติตฺวา; นิพฺพตฺเตตฺวา เหตุ.] 
 สํ-ภูสมฺภวเกิด, ปรากฏ; มีอยู่, เป็นอยู่; เจริญ  สมฺภโว ยุ สมฺภวนํ 
เกิด: ปฏิสนฺธึ คณฺหาติ ถือปฏิสนธิ 

มี เป็น (กิริยา ‘มี’ ในภาษาบาลี เป็น อกัมมกิริยา)

 
 ภูภวมี, เป็น [อนีย. ภวนีโย ต. ภูโต; ภาวิโต เหตุกัม. ตู. ภวิตฺวา; ภาเวตฺวา เหตุ.] กฺวิ สยํภู สยมฺภู สพฺพาภิภู อภิภู  ณี วิภาวี  ตุ ภวิตา #อภิภวิตา  ภโว ปภโว อตฺตสมฺภโว  ภาโว วิภโว  ติ สมฺภูติ วิภูติ  ยุ ภวนํ ภาวนา 
 หุโหมี, เป็น [อัช. อโหสิ อเหสุํ; ตู. หุตฺวา สมานกาล.] 
 ป-หุปโหเพียงพอ, มีพอ, มีมาก ‘มีทั่ว’; เจริญ [วัต. นปฺปโหติ (น-) ต. ปหุโต ปหูโต]  ปหุโก (ก สกัตถะ)  ยุ ปโหนโก (ก สกัตถะ) 
 อส*มี, เป็น 
[วัต. อตฺถิ สนฺติ; อสิ อตฺถ; อมฺหิ อสฺมิ; อมฺห อสฺม 
ปัญ. อตฺถุ สนฺตุ; อาหิ อจฺฉ อตฺถ; อมฺหิ อมฺห หิย. อาสิตฺถ 
สัต. อสฺส อสฺสุ อสฺสุํ; อสฺส อสฺสถ; อสฺสํ อสฺสาม; สิยา สิยุํ; สิยํ 
อัช. อาสิ อาสี อาสุํ; อาสิ อาสี อาสิตฺถ; อาสึ อาสิมฺหา]
 
 วิทวิชฺชมี [วัต. #สํวิชฺชติ] 

เป็น ตาย แก่

 
 ชีวชีวเป็นอยู่, มีชีวิตอยู่ [ต. ชีวิตํ ชีวิตณี ธมฺมชีวี  ทุชฺชีวํ สุชีวํ 
 อา-สสอสฺสสหายใจ [วัต. #ปสฺสสติ] 
 มรมรตาย [วัต. มิยฺยติ มียติ (มร>มิยฺย มีย); มาเรติ เหตุ. ให้ตาย=ฆ่า มาน. มิยฺยมาโน มียมาโน ต. มโต; มาริโต มาราปิโต เหตุกัม.]  ณฺวุ หตฺถิมารโก   มาโร  ยุ มรณํ 
 จุจวเคลื่อน, ตาย [ต. จุโต]  ติ จุติ  ยุ จวนํ 
 ชิรชีรเก่า, แก่, คร่ำคร่า [ต. ชิณฺโณ]  อ ชรา 
ตาย: กาลํ กโรติ, กาลกโต ทำกาละ,  ชีวิตกฺขยํ ปาปุณาติ ถึงความสิ้นชีวิต 

เกลี่ย โปรย หว่าน กระจาย

 
 ผุนาผุนาฝัด, โปรย, โรย 
 วปวปหว่าน, ปลูก; ทอ; โกนศีรษะ [ต. วุตฺโต]  ณฺวุ วาปโก ณฺย วปฺโป วาโป ยุ วปนํ 
 รุปเณ ณยโรเป-ปยหว่าน, ปลูก; ยก [ต. โรปิโต]  ยุ โรปนํ 
 กิรกิรเรี่ยราย, เกลี่ย, โปรย, เกลื่อน [ต. กิณฺโณ #ปกิณฺโณ ตู. #วิกีริตฺวา สยาย(ผม)] 
 สํ-กิรสงฺกิรเรี่ยราย, เกลี่ย, ... ปะปน [ต. สงฺกิณฺโณ] 
 สํ-ภิท ํอสมฺภินฺทเรี่ยราย, ปะปน, เกลื่อนกล่น [ต. สมฺภินฺโน] 
 โอ-กิรโอกิรโปรยลง, หว่าน, ทำให้เรี่ยราด 
 วิ-ป-กิรวิปฺปกิรเกลื่อนกล่น, กระจัดกระจาย [#ต. ปกิณฺโณ] 
 สํ-สชฺชสํสชฺชปะปน, เจือปน, เกี่ยวข้อง, คลุกคลี  อ สํสคฺโค  ณ สงฺโค 

รด ราด เปียก แห้ง

 
 วสฺสวสฺส(ฝน) ตก, รด, โปรย  อ วสฺสํ วสฺโส  ติ วุฏฺฐิ 
 อติ-วสฺสอติวสฺสรั่ว 
 สิจ ํอสิญฺจรด, ราด, เท, ไหลออก ... [ต. สิตฺโต] 
 ป-ฆรปฆร ปคฺฆรรด, ราด, เท, ไหลออก, พรม ...   ยุ ปคฺฆรณํ 
 สนฺทูสนฺทไหลออก [วัต. #วิสฺสนฺทติ, อภิสนฺทติ]  อ นิสฺสนฺโท 
 สุสวไหลไป; ให้เกิดขึ้น; เป็นใหญ่ 
 อญฺชุอญฺชหยอด, ทา, เจิม; ปรากฏ; เจือปน; เว้น 
 กิลิทกิลิทฺย กิลิชฺชเปียก, ชื้น, ชุ่ม, ชุ่มชื้น [ต. กิลินฺโน] 
 ติมอ เณ ณยเตม เตเม-มยเปียก, ชื้น, ชุ่ม, ชุ่มชื้น [ต. ตินฺโต] 
 มิเลมิลายเหี่ยวเฉา, อับแสง [ต. มิลาโต] 
 สุสสุสฺสแห้ง, เหี่ยว, ผอม, ซูบซีด [ต. สุกฺโก สุกฺโข] 
 สุกฺขสุกฺขแห้ง, ไม่สนใจ, ไม่ตั้งใจ [วัต. สุกฺขาเปติ เหตุ. ตาก(จีวร) ต. สุกฺโก สุกฺโข] 

ห้าม ปิด กั้น บัง เปิด นุ่งห่ม

 
 วรอ เณ ณยวร วาเร-รย วเร-รยปิด, กั้น  [วัต. #อาวรติ]  ณฺย นิวารโย ทุนฺนิวารโย 
 วิ-วรอ เณ ณยวิวร วิวเร-รยเปิด [วัต. วิวราเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ)] ต. วิวโฏ] 
 นิ-วรเณ ณยนิวาเร-รยห้าม, กั้น  ยุ นิวรณํ นิวารณํ #ทนฺตาวรณํ 
 ปริ-วรเณ ณยปริวาเร-รยกั้นรอบ, แวดล้อม [ต. ปริวุโต]  ปริวาโร 
 รุธ ํอ เอรุนฺธ รุนฺธิ รุนฺธี รุนฺเธ รุนฺโธปิด, กั้น, ห้าม [ต. รุทฺโธ] 
 ถกอ เณ ณยถก ถเก-กยปิด, กั้น, กระทบกระทั่ง 
 ฉทเณ ณยฉาเท-ทยมุง, บัง, ปิด กั้น, ปิดบัง [ต. ฉนฺโน #วัต. ปฏิจฺฉาเทติ] 
 อา-ฉทเณ ณยอจฺฉาเท-ทยนุ่งห่ม, ปกปิด 
 นิ-วสเณ ณยนิวาเส-สยนุ่งห่ม [ต. นิวตฺโถ]  นิวาโส 
 ปริ-ธาปริธา ปริทหนุ่งห่ม 
 ป-อา-รฺ-อุปปารุปห่ม  ยุ ปารุปนํ 
 ปิ-ธาปิธา ปิทหปกปิด, ห่อหุ้ม, ปิด, กั้น [วัต. ปิทหาเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ) ต. ปิทหิโต ปิหิโต ตู. ปิธาย] 
 อปิ-ธาอปิธา อปิทหปกปิด, ห่อหุ้ม, ปิด, กั้น [ต. อปิทหิโต อปิหิโต] 
 กุชฺชกุชฺชคว่ำ, คว่ำลง, คว่ำหน้า, ก้มหน้า [วัต. #นิกฺกุชฺชติ] 
 อุ-กุชฺชอุกฺกุชฺชหงาย, หงายขึ้น 

สำรวม ระวัง

 
 สํ-วรอ เณ ณยสํวร สํวเร-รยสำรวม, ระวัง, ปิด, กั้น  อ สํวโร  ยุ สํวรณํ 
 สํ-ยมุสํยม สํยจฺฉสำรวม, ข่มอินทรีย์ [ต. สํยโต]  อ สํยโม สญฺญโม 
 ขมฺภ (ขภิ)ขมฺภข่มไว้, ปิดกั้น, ขัดขวาง; ค้ำจุน [ตู. #วิกฺขมฺเภตฺวา]  #วิกฺขมฺโภ ขมฺโภ ไม้ค้ำ, ผู้ค้ำจุน ยุ #วิกฺขมฺภนํ 

ผูก ร้อย ติด เย็บ

 
 พนฺธพนฺธผูก, พัน, มัด, รัด [ต. พนฺโธ พทฺโธ] 
 สิณุสิโณผูก, พัน, รัด 
 สํ-นหสนฺนยฺหผูก, สวม (เกราะ) [ต. สนฺนทฺโธ ตู. สนฺนยฺห]   ยุ #อุปนยฺหนํ 
 เวฐอ เณ ณยเวฐ เวเฐ-ฐยผูก, พัน, รัด [ตู. เวเฐตฺวา วัต. #นิพฺเพฐติ] 
 วุณาวุณาร้อย 
 ลคลค ลคฺคติด, ข้อง, เกี่ยวข้อง, แขวน, คล้อง [ต. ลคฺโค] 
 

ลมฺพ (ลพิ)

ลมฺพเหนี่ยว, แขวน, ห้อย, คล้อง [วัต. #วิลมฺพติ ยึดเหนี่ยว, ห้อย ...  อวลมฺพติ พึ่งพา, ห้อย ...] 
 สชสชฺชติด, ข้อง, ไม่คล่อง [ต. สฏฺโฐ]  ณ อุปสคฺโค 
 สิวสิพฺพเย็บ 

ประดับ ตกแต่ง

 
 

ปิลนฺธ (ปิลธิ)

ปิลนฺธประดับ, ตกแต่ง 
 

มณฺฑ (มฑิ)

อ เอมณฺฑ มณฺเฑประดับ, ตกแต่ง  ยุ มณฺฑนํ 
 ภูสอ เณ ณยภูส ภูเส-สยประดับ, ตกแต่ง  ยุ #วิภูสนํ 

ปล่อย พ้น

 
 มุจ ํอมุญฺจปล่อย, แก้, ถอด สกมฺม. [อัช. โมจยิ ยอาคม ภวิส. โมกฺขติ ต. มุตฺโต #โอมุกฺโก] 
 มุจมุจฺจหลุด, พ้น อกมฺม. [ภวิส. โมกฺขติ ต. มุตฺโต]  อ โมกฺโข วิโมกฺโข  ติ วิมุตฺติ  ตุํ โมเจตุํ 'ให้พ้น' =ปล่อย, เปลื้อง 

อยู่ อาศัย

 
 วิ-หรวิหรอยู่, อาศัย [อัช. วิหาสิ]  ณี สุขวิหารี  วิหาโร 
 วสวสอยู่, อาศัย [ภวิส. วจฺฉติ ตัพ. วตฺถพฺพํ ต. วุตฺโถ; วาสิโต เหตุกัม.ณี สาวตฺถีวาสี ทิสาวาสี 
 อธิ-วส อยู่ทับ, อยู่อาศัย, สิง, สิงสถิต  [วัต. อธิวาเสติ เหตุ. รับ (คำ/นิมนต์), อดกลั้น ต. อธิวตฺโถ อธิวุตฺโถ  กัต. กัม. เหตุกัม.] 
 ปฏิ-วสปฏิวสอยู่, อาศัย 
 อา-วสอาวสอาศัยอยู่, อยู่ครอง  อาวาโส #สํวาโส  อาวสโถ 
 อธิ-อา-วสอชฺฌาวสอยู่ครอบครอง 

ฉาบ ทา เปื้อน ย้อม

 
 ลิป ํอลิมฺปฉาบ, ทา, ลูบไล้ 
 มกฺขอ เณ ณยมกฺข มกฺเข-ขยทา, ลูบไล้, ลบหลู่ 
 รญฺช รนฺชอ ยรช รญฺช รชฺชย้อม, กำหนัด [ต. รตฺโต]  ยุ รชนํ 

เผา ไหม้ ต้ม หุง สุก

 
 ปจปจหุง, ต้ม, ปรุง (อาหาร), เผา, ไหม้ สกมฺม.  
[วัต. ปจฺจติ กัม.; ปจาเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ) มาน. ปจฺจมาโน กัม. ต. ปกฺโก]  นิปโก   ปาโก
 
 ปจปจฺจสุก ไหม้ อกมฺม.  [ต. ปกฺโก] วิปาโก ปริปาโก 
 ตปอ ย เณ ณยตป ตปฺป ตปฺเป-ปยร้อน, เร่าร้อน, เผา; อิ่ม, เอิบอิ่ม [ต. ตตฺโต]  ณี อาตาปี อาตโป   อาตาโป อาตปฺโป 
 ตปตปสะดุ้ง, กลัว; เป็นใหญ่ [วัต. #อุตฺตปติ โอตฺตปฺปติ]  โอตฺตปฺปํ 
 ฌปอ เณ ณยฌป ฌาเป-ปยเผา, ไหม้ [วัต. ฌาเปติ กัต. เหตุกัต. ต. ฌตฺโต ฌาโม; ฌาปิโต เหตุกัม. ตู. ฌาเปตฺวา กัต. เหตุกัต.] 
 เฌเฌ ฌาย (เอ>อาย) เผา, ไหม้, เร่าร้อน, สว่าง; เพ่ง, คิด [ต. ฌาโม (เอ>อา) ตู. ฌายิตฺวา] 
 ทห ฑหทห ฑหไหม้, (อันไฟ) เผา [วัต. ทยฺหติ มาน. ฑยฺหมาโน กัม. ต. ทฑฺโฒ]  ณฺวุ ฉวฑาหโก   ปริฬาโห  ยุ #อาฬาหนํ 
 ป-กุถปกฺกุฏฺฐเดือด, เดือดพล่าน [ต. ปกฺกุฏฺฐิโต] 
 วาสเณ ณยวาเส-สยอบ, รม (ทำให้มีกลิ่นหอม)  วาโส 

ชำระ กวาด ล้าง อาบ

 
 สํ-มชฺชสมฺมชฺชปัด, กวาด, ขัด, ถู, นวด 
 ปริ-มชฺชปริมชฺชปัด, กวาด, ขัด, ถู, นวด, ลูบ, คลำ 
 โธวโธวล้าง 
 ป-ขลเณ ณยปกฺขาเล-ลยล้าง, บ้วน(ปาก), ชำระ 
 ปุญฺฉปุญฺฉ ปุญฺชเช็ด, ถู, ชำระ, กวาด 
 สุธสุชฺฌหมดจด, บริสุทธิ์, สะอาด [วัต. โสเธติ โสธยติ เหตุ. ‘ให้หมดจด’  
โสธาเปติ โสธาปยติ เหตุ. ‘ให้ชำระ’  ต. สุทฺโธ; โสธิโต เหตุกัมม. ‘ให้หมดจด’]  ติ สุทฺธิ #วิสุทฺธิ ยุ สุชฺฌนํ
 
 สุจอ เอสุจ สุเจสะอาด, หมดจด; แสดง, ไป, เป็นไป  โสโก  ยุ โสจนํ 
 ปุอ นาปว ปุนาชำระ, สะอาด, หมดจด  ณฺวุ ปาวโก 
 นฺหา นหานฺหาย นหายอาบ  [วัต. นฺหาเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ)ยุ นหานํ 
 ฆํสฆํสสี, ถู, บด 

เชื่อถือ เลื่อมใส ผ่องใส เศร้าหมอง ขุ่นมัว

 
 สํ-ธาสนฺธา สทฺทหเลื่อมใส, เชื่อถือ; เชื่อมต่อ  อิ สนฺธิ 
 ป-สทปสีทไม่มีมลทิน, หมดจด, ผ่องใส [วัต. ปสาเทติ เหตุ. ต. ปสนฺโน] 
 ป-สทเณ ณยปสาเท-ทยยินดี, เลื่อมใส [วัต. ปสาเท-ทยติ กัต. เหตุกัต.ปสาโท 
 โอ-กปฺปโอกปฺปจัดแจง; ทำให้สำเร็จ; ไว้ใจ, เชื่อถือ  ยุ โอ(กฺ)กปฺปนา 
 เททยรักษา, ป้องกัน; หลับ; ชำระ; ดูหมิ่น [วัต. #นิทฺทายติ โวทายติ ตู. #ปริโยทาเปตฺวา]  ทยา #นิทฺทา  ยุ #โวทานํ โวทาปนํ 
 กิลิสกิลิสฺสเศร้าหมอง, เบียดเบียน, แผดเผา [ต. กิลิฏฺโฐ] 
 ลุนฺถ (ลุถิ)ลุนฺถเศร้าหมอง, ขุ่นมัว, เบียดเบียน, เดือดร้อน 

รักษา คุ้มครอง เลี้ยง

 
 รกฺขรกฺขรักษา  ณี วาจานุรกฺขี  ณฺวุ รกฺขโก-ขิกา #อารกฺขโก วํสานุรกฺขโก  ตุ รกฺขิตา ทุรกฺโข  ยุ รกฺขณํ 
 ปาลเณ ณยปาเล-ลยรักษา  ณฺวุ ปาลโก โคปาลโก ธนปาลโก ปเวณิปาลโก  ตุ ปาลยิตา   ทฺวารปาโล อุยฺยานปาโล 
 กิตติกิจฺฉ (เทฺวภาวะ)รักษาโรค, เยียวยา; รู้; ปรารถนา; อยู่; สงสัย (กิต>กิตฺ>กิกิตฺ>ติกิตฺ>ติกิจฺ (แปลงเพราะ ฉ ปัจ.))  อ ติกิจฺฉา #วิจิกิจฺฉา 
 คุปโคปคุ้มครอง, ปกครอง, รักษา [ต. คุตฺโต]  ณฺวุ สุสานโคปโก  ณ โคโป  ติ คุตฺติ อินฺทฺริยคุตฺติ 
 ภรภรเลี้ยงดู; นำไป [ต. ภโต-โฏ ภจฺโจ]  ตุ ภตฺตา ทุพฺภโร สุภโร  ณฺย ภาริโย  อ มาตาเปติภโร อตฺตภโร  ติ ภติ  ยุ ภรณํ 
 ปุสอ ย นา เณ ณยปุส ปุสฺส ปุสฺนา โปเส-สยเลี้ยงดู  ณฺวุ มาตุโปสโก 
 ชคฺคชคฺคประคอง, ประคับประคอง, ปฏิบัติ, ซ่อมแซม [#วัต. ปฏิชคฺคติ]  ณฺวุ วิหารปฏิชคฺคโก 

ชนะ แพ้

 
 ชิเช ชยชนะ [ตวันตุ. ชิตวา ตาวี. #วิชิตาวี ต. ชิโต ตู. ชิตฺวา]  กฺวิ มารชิ  ตุ เชตา  ชโย วิชโย  ยุ ชยนํ 
 ชินาชินาชนะ [อัช. อชินิ #ปฏิชินาติ ตู. ชินิตฺวา เชตฺวา] 
 ปรา-ชิปราเช ปราชยแพ้ [ต. ปราชิโต]  อ ปราชโย 
 ยุธอ ยโยธ ยุชฺฌรบ, สู้ [ต. ยุทฺโธ #ปยุทฺโธ]  ตุ ยุชฺฌิตา 

เล่น

 
 กีฬกีฬเล่น  ณฺวุ สหปํสุกีฬโก 
 ทิวทิพฺพเล่น  อ เทโว 
 กุมารอ เณ ณยกุมาร กุมาเร-รยเล่น  กุมาโร กุมารโก 

แสวงหา

 
 คเวสอ เณ ณยคเวส คเวเส-สยแสวงหา, ค้นหา  ณี ปารคเวสี 
 อิสเอสแสวงหา, ค้นหา [#วัต. ปริเยสติ ปริ-ยฺ-อิส]  ยุ เอสนา อเนสนา เอสนํ อเนสนํ 

อาจ สามารถ กล้า กลัว

 
 สกฺกโอสกฺโก (ซ้อน กฺ)อาจ [ณฺย. สกฺกา] 
 สกฺกอุณาสกฺกุณา (ซ้อน กฺ)อาจ [สัต. สกฺกุเณยฺย อัช. อสกฺขิ (ก>ข; ซ้อน กฺ) ภวิส. สกฺขิสฺสติ กาล. อสกฺขิสฺส ตู. สกฺกุณิตฺวา] 
 วิ-สหวิสหอาจ, กล้าหาญ, ปฏิญญา [#วัต. อุสฺสหติ] 
 ภีภายกลัว [ต. ภีโต ตู. ภายิตฺวา]  ณ ภยํ  เภรโว  รุ ภีรุ ภีรุโก 
 

ภึส

ภึสกลัว [วัต. ภึสาเปติ เหตุ.]  ยุ ภึสนํ ความกลัว, น่าหวาดเสียว 
 ภมฺภภมฺภกลัว, หวั่นไหว, หวาดเสียว 
 วิชีอ ยวิช เวช วิชฺชกลัว, หวั่นไหว, หวาดเสียว [วัต. #สํเวชติ สํวิชฺชติ อุพฺพิชฺชติ] 
 อุ-สงฺก (สกิ)อุสฺสงฺกกลัว, หวาดกลัว [วัต. #ปริสงฺกติ] 
 ตสตสฺสกลัว, หวาดกลัว, สะดุ้งกลัว   ตาโส 

ซื้อ ขาย ตีราคา

 
 กีนากีนา กีณาซื้อ [วัต. กินาติ กีณติ]  ณฺวุ กยโก 
 วิ-กีนาวิกฺกีนา วิกฺกีณาขาย 
 อคฺฆอคฺฆมีค่า, มีราคา [วัต. #อคฺฆาเปติ เหตุ. ตีราคา] 

ไหว สั่น

 
 จลจล จญฺจล (เทฺวภาวะ)ไหว, หวั่นไหว, สั่น (จล>จลฺ>จจลฺ>จํจลฺ>จญฺจลฺ) 
 จุปจุป โจปไหว, หวั่นไหว, สั่น , โงก (ง่วง) [อันต. จปลายนฺโต จุป-ลฺ-อาย อุ>อ] ยุ โจปนํ อล จปโล อุ>อ ‘คนกลับกลอก’ 
 อิญฺชอิญฺชไหว, หวั่นไหว, งอ, คู้เข้า [วัต. #สมิญฺชติ, สมฺมิญฺชติ] 
 อีรอีรไหว, หวั่นไหว 
 กมฺปกมฺปไหว, หวั่นไหว   ณฺวุ #อนุกมฺปโก โลกานุกมฺปโก  กมฺปา  ยุ กมฺปนํ 
 วิธอ เณ ณยเวธ เวเธ-ธยไหว, หวั่นไหว; เบียดเบียน 
 กุปกุปฺปกำเริบ, สะเทือน, โกรธ, พินาศ [ต. กุปิโต]  ณ โกโป 
 ขุภอ เอ ย นาโขภ โขเภ ขุพฺภ ขุภนาหวั่นไหวอย่างรุนแรง [ตู. โขเภตฺวา วัต. #สํขุพฺภติ สงฺขุพฺภติ สํโขภติ สงฺโขภติ] 

เป็นไป

 
 วตฺตุวตฺตเป็นไป, เป็นอยู่, เลี้ยงชีวิต; หมุนไป; เลี้ยงดู, รับใช้; ห้าม  ติ วุตฺติ ชีวิตวุตฺติ #ปวตฺติ ปวุตฺติ 
 อติ-วตฺตุอติวตฺตเป็นไปล่วง, ล่วงไป, (น้ำ) ล้น  [ต. #วีติวตฺโต วิ-อติ-] 
 วฏฺฏวฏฺฏหมุน, กลิ้ง; ควร อกมฺม. [วัต. วฏฺฏติ (หิน)กลิ้ง วฏฺเฏติ ให้(หิน)กลิ้ง วฏฺฏาเปติ (ใช้คน)ให้(หิน)กลิ้ง เหตุ. ต. วฏฺฏิตํ (หิน)ถูกให้กลิ้ง เหตุกัม.] 
 ภมภมหัน, หมุน [ต. ภนฺโต] 

กำหนด ระบุ

 
 

องฺก 

(อกิ)

อ เณ ณยองฺก องฺเก-กยกำหนด, หมาย, เป็นเครื่องหมาย 
 ลกฺขเณ ณยลกฺเข-ขยกำหนด [วัต. #สลฺลกฺเขติ] 
 วิ-อว-ฐป ถปเณ ณยววฏฺฐเป-ปย ววตฺถเป-ปยกำหนด, หมาย, ตั้งลงไว้ [ววฏฺฐเป ววตฺถเป ววฏฺฐาเป ววตฺถาเป เหตุ.  (ไม่วุทธิ)] 
 ปริ-อิ กำหนด [ตู. ปริจฺจ (ตฺวา>(ร)จฺจ)] 
 นิ-ยมุนิยม นิยจฺฉตัดสิน, วินิจฉัย, กำหนด; ประพฤติ [ต. นิยโต]  อ #วินิจฺฉโย 
 สํ-ธา หมายเอา [ตู. สนฺธาย ใช้เป็นกิริยาวิเสสนะ] 

สงบ สงัด หลีกเร้น

 
 สมุอ ยสม สมฺมสงบ, ระงับ, ทำความเพียร [ต. สนฺโต วัต. #วูปสเมติ วิ-อุป-สม เหตุ.]  ติ สนฺติ  ยุ สมโณ กลหวูปสมนํ 
 วิ-สมุวิสฺสมสงบ, พัก, พักผ่อน 
 ปฏิ-ป-สมฺภปฏิปสฺสมฺภ ปฏิปฺปสฺสมฺภสงบ, ระงับ 
 วิ-วิจอ ยวิวิจ วิวิจฺจสงัด, โดดเดี่ยว, ปลีกออก [ต. วิวิตฺโต ตู. วิวิจฺจ]  วิเวโก 
 ป-อม สงัด [ต. ปนฺโต] 
 ลีย นาลีย ลีนาแอบ, ซ่อน, หลีกเร้น; ติดอยู่; รวมกัน [ต. ลีโน วัต. #นิลีนาติ สลฺลีนาติ ปฏิสลฺลีนาติ นิลียติ ต. สลฺลีโน ตู. ลียิตฺวา]  อาลโย 

สืบต่อ, พยายาม

 
 ฆฏ ฆฏฺฏเณ ณยฆเฏ-ฏย ฆฏฺเฏ-ฏยสืบต่อ, พยายาม, หมั่น, อุตสาหะ 
 อา-รภอ ยอารภ อารพฺภปรารภ, (กล่าวถึง, ตั้งต้น, ดำริ), ทำ, เริ่ม, ลงมือ, พยายาม 
[ต. อารทฺโธ #อจฺจารทฺโธ ตู. อารพฺภ อารทฺธ ตุํ. อารทฺธุํ]
 
 อุ-สหอุสฺสหพยายาม; อดทนยิ่งขึ้นไป  อุสฺสาโห 
 วายมวายมพยายาม 
 

ตนฺท (ตทิ)

ตนฺทเกียจคร้าน, ประมาท, ไม่เอื้อเฟื้อ, เบียดเบียน 

อดทน

 
 ขมขมอดทน, อดโทษ, ควร, ชอบ [วัต. ขมาเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ) ต. ขมาปิโต เหตุกัม. (ไม่วุทธิ)]  อ โอวาทกฺขโม วจนกฺขโม  ติ ขนฺติ 
 สหอ ย เณ ณยสห สยฺห สเห-หยอดทน, อดกลั้น  ยุ สหนํ 
 ติชติติกฺข (เทฺวภาวะ)อดทน; ผูก, ร้อย (ติช>ติชฺ>ติติชฺ>ติติกฺ (แปลงเพราะ ข ปัจ.))  อ ติติกฺขา 
 มริสเณ ณยมริเส-สยอดทน, อดกลั้น, บึกบึน, ทนทาน, มั่นคง 

โกง หลอก ลวง

 
 กุฏกุฏคด, โค้ง, งอ, โกง, บิด, ตัด, เกี่ยว, ปัน 
 วญฺจเณ ณยวญฺเจ-จยเกลี้ยกล่อม, หลอกลวง 
 กุหเณ ณยกุเห-หยโกง, ล่อลวง, ให้พิศวง  ณฺวุ กุหโก 
 สฐสฐล่อลวง, ฉ้อโกง; ฆ่า; เศร้าหมอง 

บวช สึก

 
 ป-วชปพฺพชไป, ออกไป, บวช, บรรพชา [อัช. #อนุปพฺพชิ บวชตาม; ปพฺพาเชสิ เหตุ.] ณฺย ปพฺพชฺชา 
 อุ-ป-วชอุปฺปพฺพชสึก [อัช. อุปฺปพฺพาเชสิ เหตุ.] 
 อุป-สํ-ปทอุปสมฺปชฺชเข้าถึง(พร้อม), อุปสมบท, บวช [วัต. อุปสมฺปาเทติ เหตุ. ต. อุปสมฺปนฺโน] อุปสมฺปทา 
 วิ-ภมวิพฺภมหันกลับ, หมุนกลับ, หมุนผิด, สึก, ลาสิกขา [ต. วิพฺภนฺโต] 

จูบ กอด

 
 จุมฺพจุมฺพจูบ, จุมพิต [วัต. #ปริจุมฺพติ] 
 อา-ลิงฺคอาลิงฺคกอด 
 สชสชกอด 

ป่วย ไข้

 
 กิลมกิลมลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, ชอกช้ำ, เจ็บไข้, ไม่สบาย [ต. กิลนฺโต]  กิลมถ 
 คิเลคิลยเจ็บไข้, ไม่สบาย [ต. คิลาโน] 

ไอ จาม อาเจียน

 
 ขิปขิปไอ, จาม; ทิ้ง [วัต. ขิปาเปติ เหตุ. (ไม่วุทธิ)] ต. ขิตฺโต] 
 กาสกาสไอ, กระแอม 
 วมุวมอาเจียน; คายออก 

ปูลาด ท่วม คลุม

 
 ป-ญปเณ ณยปญฺญาเป-ญเปปูลาด, ตั้งไว้, แต่งตั้ง, ฝัง, เก็บ; บัญญัติ (วินัย) [ต. ปญฺญตฺโต]  ติ ปญฺญตฺติ 
 ถรถรปูลาด 
 อา-ถรอตฺถรปูลาด, กราน (กฐิน) [ต. อตฺถโต] 
 โอ-ถรโอตฺถรปูลาด, ปกคลุม, ปิดบัง, ท่วมทับ 
 สํ-ถรสนฺถรปู, ปูลาด 
 อธิ-โอ-ถรอชฺโฌถร อชฺโฌตฺถรท่วมทับ, ครอบงำ, ปกคลุม 

ประกอบ จัดแจง ตระเตรียม

 
 สํ-วิ-ธา/ทหสํวิทหจัดแจง, เตรียมการ, ประกอบ 
 สชฺชอ เณ ณยสชฺช สชฺเช-ชยจัดแจง, เตรียมการ, ประกอบ; สร้าง, ทำ [ต. สฏฺโฐ] 
 ปฏิ-ยตเณ ณยปฏิยาเท-ทย (ต>ท)ตกแต่ง, จัดแจง  [ต. ปฏิยาทิโต ปฏิยตฺโต] 
 ยุชอ เณ ณยโยช โยเช-ชยผูก, ประกอบ, รวบรวม [วัต. ยุชฺชติ กัม. วัต. #สํโยเชติ ต. ยุตฺโต #ปยุตฺโต สมฺปยุตฺโต]  ณฺย โยคฺโค นิโยชฺโช   โยโค #อุปโยโค  ยุ ยุญฺชนํ 
 ยุช ํอยุญฺชผูก, ประกอบ, รวบรวม; อุตสาหะ, พยายาม [#วัต. อนุยุญฺชติ ต. อนุยุตฺโต] 
 สํ-อนุ-อา-คม มา(ตาม)พร้อม(กัน), ประกอบ [ต. สมนฺนาคโต อุ>โอ>วฺ>นฺ] 

ถูกต้อง สมควร ขัดแย้ง

 
 กปุอ เอกปฺป กปฺเปควร, สมควร, อาจ, สามารถ, อาจมี, อาจเป็น 
 อรหอ เณ ณยอรห อรเห-หยสมควร, เหมาะสม; บูชา  อ ปูชารโห 
 สํ-อิสเมถึงพร้อม, พิจารณา; สม, เข้ากัน [ตู. สเมจฺจ] 
 ยุชยุชฺชตั้งใจ, ตั้งมั่น, มั่นคง; ควร, สมควร, ถูกต้อง, ใช้ได้ [ต. ยุตฺโต]  ติ ยุตฺติ 
 วิ-รุธวิรุชฺฌคัดค้าน, ขัดแย้ง; ปรารถนา 
 ปฏิ-กุสปฏิกฺโกสคัดค้าน; ด่าตอบ 
 ปฏิ-สิธุปฏิเสธห้าม, ปฏิเสธ [#วัต. นิเสธติ]  อ หิรินิเสโธ 
 ปฏิ-ขิปปฏิกฺขิปห้าม, ปฏิเสธ (คน, สิ่งของ) [ต. ปฏิกฺขิตฺโต] 
 ปฏิ-วหปฏิพาหห้าม, ค้าน, นำไปเฉพาะ, นำกลับ 

อื่นๆ

 
 ปูรอ เณ ณยปูร ปูเร-รยเต็ม [วัต. ปูเรติ เหตุ. ตู. ปูเรตฺวา เหตุ. ต. ปุณฺโณ; ปูริโต เหตุกัม.]  ยุ ปูรณํ 
 ทุหทุห โทหรีดน้ำนม; ให้เต็ม; ฆ่า; ทำลาย 
 ธมธมทำเป่าให้มีเสียง, เป่าให้ดัง; ก่อไฟ, เป่าไฟ 
 

วลญฺช (วลชิ)

วลญฺชบริโภค, ใช้สอย 
 เสวเสวเสพ, ใช้สอย, คบหา; ยินดี  ณี ปรทารูปเสวี  ณฺวุ เสวโก  เสวา  ยุ เสวนา ปรทารูปเสวนา เสวนํ 
 วิ-สสวิสฺสสคุ้นเคย  วิสฺสาโส 
 อฏฺฏเณ ณยอฏฺเฏ-ฏยอึดอัด, บีบคั้น 
 จุณฺณเณ ณยจุณฺเณ-ณยบด, ละเอียด, แหลก 
 วีชเณ ณยวีเช-ชยพัด, โบก [มาน. พีชยมาโน] 
 อติ-มานเณ ณยอติมาเน-นยเย่อหยิ่ง, จองหอง  อติมาโน ความ~ ตัท. อี อติมานี ผู้มี~ 
 นฏเณ ณยนฏ นเฏ-ฏยฟ้อนรำ [ต. นจฺโจ นฏฺโฏ]  ณฺวุ นาฏโก-กา 
 นจฺจนจฺจฟ้อนรำ 
 วิ-ลสวิลสสวยงาม, เยื้องกราย, กรีดกราย 
 สุภโสภงาม, สว่าง, รุ่งเรือง; เบียดเบียน  นครโสภิณี  ยุ นครโสภนา (อิตฺถี) 
 ปุปฺผปุปฺผบาน  ปุปฺผํ 
 สํ-จิตเณ ณยเจเต-ตยซื้อขาย; อุตสาหะ, พยายาม; แกล้ง (ภาษาเก่า), จงใจ, เจตนา [ตู. สญฺจิจฺจ]  ณฺวุ เจตาปโก  ยุ เจตนา เจตาปนํ 
 สิสสิสฺสเหลือ [วัต. #อวสิสฺสติ ต. อวสิฏฺโฐ] 
 อุ-หทอุหทถ่ายอุจจาระรด 
 อุ-มิหอุมฺมิหถ่ายปัสสาวะรด 

ความคิดเห็น

Restricted HTML

  • Allowed HTML tags: <a href hreflang> <em> <strong> <cite> <blockquote cite> <code> <ul type> <ol start type> <li> <dl> <dt> <dd> <h2 id> <h3 id> <h4 id> <h5 id> <h6 id>
  • Lines and paragraphs break automatically.
  • Web page addresses and email addresses turn into links automatically.